สวัสดีครับ วันนี้ ผมจะมานำเสนอวิธีการแนวคิด ที่จะสอบให้ติดรับตรงคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในแบบฉบับของคนที่เรียนสายวิทย์-คณิตนะครับ ก่อนอื่นขออนุญาตแนะนำตัวก่อนนะครับ ว่าผมเรียนโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี เป็นโรงเรียนที่ไม่ได้มีชื่อเสียงเหมือนโรงเรียนอื่นๆครับ เรียกได้ว่าเป็นโรงเรียนที่กำลังพัฒนาครับ ผมเรียน สายวิทย์-คณิต ที่โรงเรียนนี้ครับ แต่ว่าใจจริงๆผมชอบไปทางสายศิลป์มากกว่าแต่เหตุผลที่เรียนสายวิทย์เพราะว่าสายศิลป์ที่นี้ยังไม่ค่อยแข็งแรงครับ การที่ต้องเรียน สายวิทย์ไปด้วยแล้วจะมุ่งเข้าคณะ นิติ นี้มันมีความลำบากมากเพราะจะต้อง รักษาเกรดวิชาทางวิทย์ให้ดีและต้องหาความรู้เกี่ยววิชากฎหมายเอาเองครับ
ที่นี้มาเข้าเรื่องกันดีกว่าครับ ในการสอบตรงคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปีผม(Dek60)นั้นก็มี วิชาที่จะต้องใช้คือ
1.Gat 30% 2.วิชาทางด้านกฏหมาย 60% จะแบ่งเป็น วิชาความรู้เกี่ยวกับกฏหมาย 10% วิชาความสามารถในการใช้กฏหมาย 30% วิชาเรียงความและย่อความอย่างละ10% และ3.ภาษาอังกฤษ อีก10%
ในส่วนของแกทนั้นแนะนำให้ทำแกทไทยให้เต็มหรือเกือบเต็มเลยครับ ส่วนตัวผมอ่าน แกทของอ.ขลุ่ย แล้วก็ทำแบบฝึกหัดเอาครับ ส่วนแกทอิ้งให้เน้นไปที่คอนเวอร์ เพราะง่ายสุด ส่วน รีดดิ้ง แนะนำให้ ไปหาคำศัพท์ ของ ครูสมศรีมาท่องครับ
วิชาของกฏหมาย ผมเรียนกับ Geniuslaw Tu ครับ แต่ถ้าไม่อยากเรียนพิเศษก็แนะนำให้หาหนังสือเกี่ยวกับกฏหมายเบื้องต้นมาอ่านครับ โดยเฉพาะหนังสือ ที่ นำกฏหมายที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวันมาอธิบายให้เช้าใจเพราะข้อสอบจะมีหลักการคือจะให้ตัวบทกฏหมายมาแล้วให้ข้อเท็จจริงมาเราจะน้องพิจารณาตัวบทแล้วมาปรับใช้กับสถานการณ์ครับ แนะนำให้หาข้อสอบพี่เก่าๆมาฝึกทำครับจะเห็นว่าแนวข้อสอบจะไม่ต่างกันมากยิ่งทำเยอะเราจะรู้จุดที่ข้อสอบชอบเอามาหลอกครับ
วิชาเรียงความก็แนะนำให้หาหัวข้อเกี่ยวกับกฏหมายมาฝึกเขียน พยายามเขียนให้เป็นขั้นเป็นตอนแสดงความคิดเห็นอย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย และพยายามเขียนให้กรรมการเข้ามาอยู่ในโลกของเราให้ได้ครับ น้องๆอาจจะให้ อ.ภาษาไทยช่วยตรวจก็ได้นะครับ ส่วนวิชาย่อความนี้ค่อนข้างยากเพราะจะให้บทความมาประมาณ10-15หน้า แล้วให้เราย่อเหลือ 15 บรรทัดแต่มีข้อสังเกตที่น่าสนใจคือ เวาเขียนย่อความจะต้องเขียน คำนำที่จะย่อ แต่ว่าพี่เห็นในโจทย์บอกว่า เขียนเฉพาะเนื้อหา พี่เลยไม่ได้เขียนในส่วนของคำนำ ไปพี่ไม่แน่ใจว่าจะมีผลต่อคะแนนรึป่าวแต่ คนที่ติดหลายๆคนก็ไม่ได้เขียนนะครับ
ส่วนอันสุดท้าย ภาษาอังกฤษเป็นอะไรที่ยากมากครับ เพราะจะให้เนื้อหาที่ยาวมาก และ คำศัพท์ยาก มาให้เราอ่านแล้วตอบคำถาม คำแนะนำคือ หาศัพท์มาท่องครับ ไม่จำเป็นศัพท์เกี่ยวกับกฏหมายนะครับเพราะว่าแทบจะไม่มีเลย
เด็กสายวิทย์ไม่ต้องกังวลนะครับวิธีการที่จะทำให้เรา ทั้งสอบติดและเกรดที่ โรงเรียนดีด้วยก็คือเราต้องรู้จักแบ่งเวลาครับ เวลาที่อยู่โรงเรียนขอให้ทำวิชาในสายวิทย์ให้ดีที่สุดก่อน พยายามทำการบ้านให้เรียบร้อยเลยนะครับ แล้วแบ่งเวลา ให้กับวิชากฏหมายแค่วันละ 1ชม. พอครับไม่ต้องเยอะแต่ต้องต่อเนื่องนะครับอีกอย่างต้องสนใจเหตุการณ์บ้านเมืองด้วยครับพยายามดูรายการที่มีการเชิญแขกรับเชิญที่มีความรู้ทางกฏหมายมาวิเคราะห์ข่าวนั้นๆครับเพราจะทำให้เราเข้าใจกฏหมายง่ายขึ้น แต่เราต้องมันใจนะครับว่าชอบทางนี้จริงๆเพราะอาจจะมีแรงกดดันบ้างแต่เวลาจะเป็นตัวพิสูจน์ครับ ขอให้ทุกคนโชคดีครับ
ปล.ผิดพลาดอย่างไรก็ขออภัยด้วยครับ
เด็กวิทย์ พิชิต นิติ มธ.
ที่นี้มาเข้าเรื่องกันดีกว่าครับ ในการสอบตรงคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปีผม(Dek60)นั้นก็มี วิชาที่จะต้องใช้คือ
1.Gat 30% 2.วิชาทางด้านกฏหมาย 60% จะแบ่งเป็น วิชาความรู้เกี่ยวกับกฏหมาย 10% วิชาความสามารถในการใช้กฏหมาย 30% วิชาเรียงความและย่อความอย่างละ10% และ3.ภาษาอังกฤษ อีก10%
ในส่วนของแกทนั้นแนะนำให้ทำแกทไทยให้เต็มหรือเกือบเต็มเลยครับ ส่วนตัวผมอ่าน แกทของอ.ขลุ่ย แล้วก็ทำแบบฝึกหัดเอาครับ ส่วนแกทอิ้งให้เน้นไปที่คอนเวอร์ เพราะง่ายสุด ส่วน รีดดิ้ง แนะนำให้ ไปหาคำศัพท์ ของ ครูสมศรีมาท่องครับ
วิชาของกฏหมาย ผมเรียนกับ Geniuslaw Tu ครับ แต่ถ้าไม่อยากเรียนพิเศษก็แนะนำให้หาหนังสือเกี่ยวกับกฏหมายเบื้องต้นมาอ่านครับ โดยเฉพาะหนังสือ ที่ นำกฏหมายที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวันมาอธิบายให้เช้าใจเพราะข้อสอบจะมีหลักการคือจะให้ตัวบทกฏหมายมาแล้วให้ข้อเท็จจริงมาเราจะน้องพิจารณาตัวบทแล้วมาปรับใช้กับสถานการณ์ครับ แนะนำให้หาข้อสอบพี่เก่าๆมาฝึกทำครับจะเห็นว่าแนวข้อสอบจะไม่ต่างกันมากยิ่งทำเยอะเราจะรู้จุดที่ข้อสอบชอบเอามาหลอกครับ
วิชาเรียงความก็แนะนำให้หาหัวข้อเกี่ยวกับกฏหมายมาฝึกเขียน พยายามเขียนให้เป็นขั้นเป็นตอนแสดงความคิดเห็นอย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย และพยายามเขียนให้กรรมการเข้ามาอยู่ในโลกของเราให้ได้ครับ น้องๆอาจจะให้ อ.ภาษาไทยช่วยตรวจก็ได้นะครับ ส่วนวิชาย่อความนี้ค่อนข้างยากเพราะจะให้บทความมาประมาณ10-15หน้า แล้วให้เราย่อเหลือ 15 บรรทัดแต่มีข้อสังเกตที่น่าสนใจคือ เวาเขียนย่อความจะต้องเขียน คำนำที่จะย่อ แต่ว่าพี่เห็นในโจทย์บอกว่า เขียนเฉพาะเนื้อหา พี่เลยไม่ได้เขียนในส่วนของคำนำ ไปพี่ไม่แน่ใจว่าจะมีผลต่อคะแนนรึป่าวแต่ คนที่ติดหลายๆคนก็ไม่ได้เขียนนะครับ
ส่วนอันสุดท้าย ภาษาอังกฤษเป็นอะไรที่ยากมากครับ เพราะจะให้เนื้อหาที่ยาวมาก และ คำศัพท์ยาก มาให้เราอ่านแล้วตอบคำถาม คำแนะนำคือ หาศัพท์มาท่องครับ ไม่จำเป็นศัพท์เกี่ยวกับกฏหมายนะครับเพราะว่าแทบจะไม่มีเลย
เด็กสายวิทย์ไม่ต้องกังวลนะครับวิธีการที่จะทำให้เรา ทั้งสอบติดและเกรดที่ โรงเรียนดีด้วยก็คือเราต้องรู้จักแบ่งเวลาครับ เวลาที่อยู่โรงเรียนขอให้ทำวิชาในสายวิทย์ให้ดีที่สุดก่อน พยายามทำการบ้านให้เรียบร้อยเลยนะครับ แล้วแบ่งเวลา ให้กับวิชากฏหมายแค่วันละ 1ชม. พอครับไม่ต้องเยอะแต่ต้องต่อเนื่องนะครับอีกอย่างต้องสนใจเหตุการณ์บ้านเมืองด้วยครับพยายามดูรายการที่มีการเชิญแขกรับเชิญที่มีความรู้ทางกฏหมายมาวิเคราะห์ข่าวนั้นๆครับเพราจะทำให้เราเข้าใจกฏหมายง่ายขึ้น แต่เราต้องมันใจนะครับว่าชอบทางนี้จริงๆเพราะอาจจะมีแรงกดดันบ้างแต่เวลาจะเป็นตัวพิสูจน์ครับ ขอให้ทุกคนโชคดีครับ
ปล.ผิดพลาดอย่างไรก็ขออภัยด้วยครับ