ว่าน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma spp. จัดอยู่ในวงศ์ขิง (ZINGIBERACEAE)[1]
สมุนไพรว่าน
มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ว่านมหาเสน่ห์ (รากราคะ, ว่านรากราคะ), ว่านมหาเสน่ห์
, ว่าน
, ว่าน
แท้, ว่าน
ตัวผู้, ว่าน
ตัวเมีย (ว่านดินสอฤาษี), ว่าน
กระเจา เป็นต้น
ว่าน
นั้นแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ว่าน
ตัวผู้และว่าน
ตัวเมีย (ว่านดินสอฤาษี) ซึ่งจะมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์แตกต่างกันเล็กน้อย เช่น สีของใบ และสีเนื้อของหัวว่าน โดยว่าน
ตัวเมียนั้นจะมีฤทธิ์แรงกว่าตัวผู้
ลักษณะว่าน
ว่านมีลักษณะเป็นหัวหรือเหง้าอยู่ใต้ดิน ลักษณะของเหง้าเป็นรูปทรงกลม และแตกแขนงเป็นไหลขนาดเล็ก มีขนาดยาวประมาณ 5-10 นิ้วส่วนรากเป็นเส้นใหญ่ ไม่แตกเป็นรากฝอย มีความสูงของต้นประมาณ 1 ฟุต เนื้อในหัวของว่าน
ตัวผู้จะมีสีเหลือง ส่วนเนื้อในหัวของว่าน
ตัวเมียจะมีสีขาว ส่วนของลำต้นและใบจะมีลักษณะคล้ายกับขมิ้น มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ ใบมีสีเขียว ลักษณะของใบเป็นรูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบมน หากเป็นว่าน
ตัวผู้เส้นกลางใบและกาบใบจะมีสีแดงเรื่อ
ว่าน
ตัวเมีย มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ว่านดินสอฤาษี” จัดเป็นไม้ล้มลุก มีหัวอยู่ใต้ดิน ส่วนใบมีลักษณะเป็นรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมนสอบ มีลำต้นและใบเป็นสีเขียว ไม่มีสีแดงเจือปนเหมือน “ว่าน
ตัวผู้” (ว่าน
) โดยหัวของ
ตัวเมียจะมีลักษณะคล้ายกับดินสอ จึงเป็นที่มาของชื่อ “ว่านดินสอฤาษี” เมื่อนำมาหักหรือผ่าดูจะมีกลิ่นคาว เช่นเดียวกับว่าน
(ว่าน
ตัวผู้) แต่กลิ่นของว่าน
ตัวเมียจะมีกลิ่นที่แรงกว่า นอกจากนี้ยังมี “
กระเจา” ซึ่งดอกจะมีลักษณะเป็นรูปกรวย มีกลิ่นคาวเหมือนกัน แต่จะไม่รุนแรงเท่าว่าน
ตัวเมีย
ว่านมหาเสน่ห์ ออกดอกเยอะอีกแล้ว
สมุนไพรว่าน มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ว่านมหาเสน่ห์ (รากราคะ, ว่านรากราคะ), ว่านมหาเสน่ห์, ว่าน, ว่านแท้, ว่านตัวผู้, ว่านตัวเมีย (ว่านดินสอฤาษี), ว่านกระเจา เป็นต้น
ว่าน นั้นแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ว่านตัวผู้และว่านตัวเมีย (ว่านดินสอฤาษี) ซึ่งจะมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์แตกต่างกันเล็กน้อย เช่น สีของใบ และสีเนื้อของหัวว่าน โดยว่านตัวเมียนั้นจะมีฤทธิ์แรงกว่าตัวผู้
ลักษณะว่าน ว่านมีลักษณะเป็นหัวหรือเหง้าอยู่ใต้ดิน ลักษณะของเหง้าเป็นรูปทรงกลม และแตกแขนงเป็นไหลขนาดเล็ก มีขนาดยาวประมาณ 5-10 นิ้วส่วนรากเป็นเส้นใหญ่ ไม่แตกเป็นรากฝอย มีความสูงของต้นประมาณ 1 ฟุต เนื้อในหัวของว่านตัวผู้จะมีสีเหลือง ส่วนเนื้อในหัวของว่านตัวเมียจะมีสีขาว ส่วนของลำต้นและใบจะมีลักษณะคล้ายกับขมิ้น มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ ใบมีสีเขียว ลักษณะของใบเป็นรูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบมน หากเป็นว่านตัวผู้เส้นกลางใบและกาบใบจะมีสีแดงเรื่อ
ว่านตัวเมีย มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ว่านดินสอฤาษี” จัดเป็นไม้ล้มลุก มีหัวอยู่ใต้ดิน ส่วนใบมีลักษณะเป็นรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมนสอบ มีลำต้นและใบเป็นสีเขียว ไม่มีสีแดงเจือปนเหมือน “ว่านตัวผู้” (ว่าน) โดยหัวของตัวเมียจะมีลักษณะคล้ายกับดินสอ จึงเป็นที่มาของชื่อ “ว่านดินสอฤาษี” เมื่อนำมาหักหรือผ่าดูจะมีกลิ่นคาว เช่นเดียวกับว่าน (ว่านตัวผู้) แต่กลิ่นของว่านตัวเมียจะมีกลิ่นที่แรงกว่า นอกจากนี้ยังมี “กระเจา” ซึ่งดอกจะมีลักษณะเป็นรูปกรวย มีกลิ่นคาวเหมือนกัน แต่จะไม่รุนแรงเท่าว่านตัวเมีย