ภาพถ่ายโบราณ อารยธรรมพุทธ แห่งเมืองโบราณนามว่า"โขตาน" บนเส้นทางสายไหม ดินแดนที่พุทธศาสนาเคยรุ่งเรื่องมาก่อน
Farhad-beg-yailaki buddha ภาพวาด พระไวโรจนพุทธเจ้า ราวพุทธศตวรรตที่10-11 ที่มีภาพพระพุทธเจ้าซ้อนอยู่กลางท้องและอก จากเมืองฟาร์ฮัด โขตาน
http://twoway.st/things/RRC6747
พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่เอเชียกลางในพุทธศตวรรษที่2 โดยพระธรรมทูตสายพระมัชฌันติกเถระ และสายพระธรรมรักขิตเถระ ได้มาเผยแพร่ที่นี่ด้วย แต่ก็ไม่มีหลักฐานชัดเจนศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในเอเชียกลาง คือ เมืองกุฉา ต่อมาในพุทธศตวรรษที่7 พุทธศาสนาก็ได้ตั้งมั่นในเอเชียกลางบนทางสายไหม ทำให้เมืองต่างๆ เช่น โขตาน (ปัจจุบันคือเมืองเหอเถียน, แคว้นซินเจียง, ประเทศจีน ) กุชา และตูร์ฟาน (บ้างว่า เตอร์ฟาน) เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง
ตามตำนานเล่าว่า ราชอาณาจักรพุทธโขตาน ก่อตั้งโดยพระราชโอรสแห่งพระเจ้าอโศกมหาราชที่ถูกเนรเทศออกจากอินเดีย
ออเริล สเติน(Sir Marc Aurel Stein) นักประวัติศาสตร์ สันนิฐานว่าพระพุทธศาสนาได้รับการอุปถัมภ์ให้เป็นศาสนาประจำราชธานีโขตาน เมื่อราวพุทธศตวรรตที่สาม
จากหลักฐานทางโบราณคดี ที่ขุดค้นพบ ทำให้ทราบว่า ในอดีตได้มีการสร้างวัดวาอารามและพระเจดีย์ ไว้มากมายในเมืองนี้
บันทึกของพระภิกษุฟาเสียน ผู้เคยเดินทางผ่านเมืองนี้เพื่อไปแสวงบุญที่อินเดีย กล่าวว่า
"เมื่อพระเหล่าภิกษุเข้าสู่หอฉัน เสขิยวัตของท่านเหล่านั้นดูโดดเด่นเรียบร้อยเหมาะสม มีการนั่งเป็นแถวเป็นแนว ทั้งหมดอยู่ในอาการสงบ ไม่มีแม้เสียงกระทบออกมาจากบาตรของท่านเหล่านั้น เมื่อพระภิกษุรูปใดต้องการภัตตาหารเพิ่ม ก็จะไม่ได้รับอนุญาติให้ส่งเสียงเรียก แต่จะใช้วิธีส่งสัญลักษณ์อวจนภาษาด้วยมือแทน"
นอกจากนี้ยังมีการค้นพบ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในแถบเอเชียกลางที่มีชื่อเสียง คือ คัมภีร์ซัมบาสต้า The Book of Zambasta ด้วยเช่นกัน
อ้างอิง
https://th.wikipedia.org/
https://en.wikipedia.org/wiki/Buddhism_in_Khotan
http://idp.bl.uk/4DCGI/education/symposium/goldenlight/index.a4d
http://www.transoxiana.org/Eran/Articles/tianshu.html
https://archive.org/details/Emmerick1968TheBookOfZambasta
Cosmological Buddha, Khotan, (after Bussagli, 1979, p.55).
พระไวโรจนพุทธเจ้า เมืองโขตาน
Sir Marc Aurel Stein
ภาพถ่ายพระพุทธรูป ตรงกำแพงด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ในพระเจดีย์ราวัก แห่งเมืองโบราณโขตาน (เหอเถียน, ซินเจียง)
Sir Marc Aurel Stein
ภาพถ่ายพระพุทธรูป ตรงกำแพงด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ในพระเจดีย์ราวัก แห่งเมืองโบราณโขตาน (เหอเถียน, ซินเจียง)
Sir Marc Aurel Stein
ภาพถ่ายพระพุทธรูป ตรงกำแพงด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ในพระเจดีย์ราวัก แห่งเมืองโบราณโขตาน (เหอเถียน, ซินเจียง)
Sir Marc Aurel Stein
ซากพระเจดีย์และวิหาร ของวัดในเมืองโบราณโขตาน
https://snl.no/Buddha
ภาพเขียนสี พระพุทธเจ้า เมืองโขตาน
Buddha-freske fra Khotan, Kina. British Museum, London.
หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ / British Library
Pothi manuscript of Suvarṇaprabhāsa Sūtra in Khotanese Or.9609A/1.1
ชิ้นส่วนแผ่นจารึกผูก คัมภีร์สุวรรณประภาษสูตร ภาษาโขตาน
http://www.winnews.tv/news/14270
ร่องรอยอารยธรรมพุทธโบราณ แห่งเมืองโขตาน บนเส้นทางสายไหม
Farhad-beg-yailaki buddha ภาพวาด พระไวโรจนพุทธเจ้า ราวพุทธศตวรรตที่10-11 ที่มีภาพพระพุทธเจ้าซ้อนอยู่กลางท้องและอก จากเมืองฟาร์ฮัด โขตาน
http://twoway.st/things/RRC6747
พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่เอเชียกลางในพุทธศตวรรษที่2 โดยพระธรรมทูตสายพระมัชฌันติกเถระ และสายพระธรรมรักขิตเถระ ได้มาเผยแพร่ที่นี่ด้วย แต่ก็ไม่มีหลักฐานชัดเจนศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในเอเชียกลาง คือ เมืองกุฉา ต่อมาในพุทธศตวรรษที่7 พุทธศาสนาก็ได้ตั้งมั่นในเอเชียกลางบนทางสายไหม ทำให้เมืองต่างๆ เช่น โขตาน (ปัจจุบันคือเมืองเหอเถียน, แคว้นซินเจียง, ประเทศจีน ) กุชา และตูร์ฟาน (บ้างว่า เตอร์ฟาน) เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง
ตามตำนานเล่าว่า ราชอาณาจักรพุทธโขตาน ก่อตั้งโดยพระราชโอรสแห่งพระเจ้าอโศกมหาราชที่ถูกเนรเทศออกจากอินเดีย
ออเริล สเติน(Sir Marc Aurel Stein) นักประวัติศาสตร์ สันนิฐานว่าพระพุทธศาสนาได้รับการอุปถัมภ์ให้เป็นศาสนาประจำราชธานีโขตาน เมื่อราวพุทธศตวรรตที่สาม
จากหลักฐานทางโบราณคดี ที่ขุดค้นพบ ทำให้ทราบว่า ในอดีตได้มีการสร้างวัดวาอารามและพระเจดีย์ ไว้มากมายในเมืองนี้
บันทึกของพระภิกษุฟาเสียน ผู้เคยเดินทางผ่านเมืองนี้เพื่อไปแสวงบุญที่อินเดีย กล่าวว่า
"เมื่อพระเหล่าภิกษุเข้าสู่หอฉัน เสขิยวัตของท่านเหล่านั้นดูโดดเด่นเรียบร้อยเหมาะสม มีการนั่งเป็นแถวเป็นแนว ทั้งหมดอยู่ในอาการสงบ ไม่มีแม้เสียงกระทบออกมาจากบาตรของท่านเหล่านั้น เมื่อพระภิกษุรูปใดต้องการภัตตาหารเพิ่ม ก็จะไม่ได้รับอนุญาติให้ส่งเสียงเรียก แต่จะใช้วิธีส่งสัญลักษณ์อวจนภาษาด้วยมือแทน"
นอกจากนี้ยังมีการค้นพบ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในแถบเอเชียกลางที่มีชื่อเสียง คือ คัมภีร์ซัมบาสต้า The Book of Zambasta ด้วยเช่นกัน
อ้างอิง
https://th.wikipedia.org/
https://en.wikipedia.org/wiki/Buddhism_in_Khotan
http://idp.bl.uk/4DCGI/education/symposium/goldenlight/index.a4d
http://www.transoxiana.org/Eran/Articles/tianshu.html
https://archive.org/details/Emmerick1968TheBookOfZambasta
Cosmological Buddha, Khotan, (after Bussagli, 1979, p.55).
พระไวโรจนพุทธเจ้า เมืองโขตาน
Sir Marc Aurel Stein
ภาพถ่ายพระพุทธรูป ตรงกำแพงด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ในพระเจดีย์ราวัก แห่งเมืองโบราณโขตาน (เหอเถียน, ซินเจียง)
Sir Marc Aurel Stein
ภาพถ่ายพระพุทธรูป ตรงกำแพงด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ในพระเจดีย์ราวัก แห่งเมืองโบราณโขตาน (เหอเถียน, ซินเจียง)
Sir Marc Aurel Stein
ภาพถ่ายพระพุทธรูป ตรงกำแพงด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ในพระเจดีย์ราวัก แห่งเมืองโบราณโขตาน (เหอเถียน, ซินเจียง)
Sir Marc Aurel Stein
ซากพระเจดีย์และวิหาร ของวัดในเมืองโบราณโขตาน
https://snl.no/Buddha
ภาพเขียนสี พระพุทธเจ้า เมืองโขตาน
Buddha-freske fra Khotan, Kina. British Museum, London.
หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ / British Library
Pothi manuscript of Suvarṇaprabhāsa Sūtra in Khotanese Or.9609A/1.1
ชิ้นส่วนแผ่นจารึกผูก คัมภีร์สุวรรณประภาษสูตร ภาษาโขตาน
http://www.winnews.tv/news/14270