เพราะอะไร? ใช้เล่ห์เหลี่ยมใด?
การจัดประเภทพระภิกษุออกเป็น ๓ ระดับ โดยอาศัยพรรษาเป็นเกณฑ์ ได้แก่
๑/ พระนวกะ คือ ผู้แรกบวชหรือผู้ใหม่ มีพรรษายุกาลไม่ถึง ๕ พรรษา พระนวกะนี้ต้องถือนิสสัย กล่าวคือ ต้องอยู่กับอุปัชฌาย์หรืออาจารย์ ต้องมีผู้ควบคุม ดูแล แนะนำสั่งสอน ไม่สามารถอยู่ตามลำพังได้
๒/ พระมัชฌิมะ คือ ผู้ปานกลาง มีพรรษายุกาลครบ ๕ แต่ยังไม่ถึง ๑๐ พรรษา พระมัชฌิมะนี้ เรียกอีกอย่างว่านิสัยมุตตกะ กล่าวคือ ไม่ต้องถือนิสสัย สามารถอยู่ตามลำพัง ครองตัวเองได้ แต่ไม่สามารถจะเป็นอุปัชฌาย์อาจารย์ของผู้อื่นได้
๓/ พระเถระ คือ ผู้ใหญ่หรือผู้มั่นคง มีพรรษายุกาลครบ ๑๐ พรรษาขึ้นไป พระเถระนี้ สามารถรับหน้าที่เป็นอุปัชฌาย์อาจารย์ของผู้อื่นได้
อ่านต่อได้ที่:
https://www.gotoknow.org/posts/67080
"ธัมมชโย"บวชได้เพียง ๑ พรรษา เป็นเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายได้อย่างไร?
การจัดประเภทพระภิกษุออกเป็น ๓ ระดับ โดยอาศัยพรรษาเป็นเกณฑ์ ได้แก่
๑/ พระนวกะ คือ ผู้แรกบวชหรือผู้ใหม่ มีพรรษายุกาลไม่ถึง ๕ พรรษา พระนวกะนี้ต้องถือนิสสัย กล่าวคือ ต้องอยู่กับอุปัชฌาย์หรืออาจารย์ ต้องมีผู้ควบคุม ดูแล แนะนำสั่งสอน ไม่สามารถอยู่ตามลำพังได้
๒/ พระมัชฌิมะ คือ ผู้ปานกลาง มีพรรษายุกาลครบ ๕ แต่ยังไม่ถึง ๑๐ พรรษา พระมัชฌิมะนี้ เรียกอีกอย่างว่านิสัยมุตตกะ กล่าวคือ ไม่ต้องถือนิสสัย สามารถอยู่ตามลำพัง ครองตัวเองได้ แต่ไม่สามารถจะเป็นอุปัชฌาย์อาจารย์ของผู้อื่นได้
๓/ พระเถระ คือ ผู้ใหญ่หรือผู้มั่นคง มีพรรษายุกาลครบ ๑๐ พรรษาขึ้นไป พระเถระนี้ สามารถรับหน้าที่เป็นอุปัชฌาย์อาจารย์ของผู้อื่นได้
อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/67080