จริงๆ ผมไม่ได้ติดตามข่าวเท่าไหร่หรอกนะครับ แต่ เพือนแชร์ คลิป วัยรุ่น ขาโจ๋ ทำร้ายลุงวิศวกร ตามข่าว จริงๆ ตอนแรกคิดว่าเป็นแค่ คดีธรรมดา แต่
รู้สึกสนใจคดีนี้มาก คือ ตรงที่เด็กวัยรุ่นเพื่อนผู้เสียชีวิต ออกสื่อโทรทัศน์ประนามการกระทำของลุง แต่ความจริงดันปรากฎ ที่หลังดังในคลิป ว่า คนที่เข้ามาทำร้ายเค้าก่อนคือวัยรุ่น (เห็นตอนสัมภาท์หลังเกิดเหตุ ยังคิดเล่นๆ ว่า นี้มัน พ่อค้ายาใช่ไหม ) แค่มุขครับ คดีนี้ คงเรียกว่าปิดคดีได้แล้ว แต่ผมยังมีเรื่อง
สงสัยหลายประการ หากใครรู้ช่วยบอกที
1.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ประทุษร้ายต่อชีวิตและทรัพย์สินผู้อื่น หรือไหม
สาระสำคัญต้องทำให้ผู้ถูกกระทำกลัว หากเป็นการพูดหยอกล้อ
กัน ก็ไม่มีความผิดตามมาตรานี้เช่น การใช้ปืนปลอมมขู่ให้กระท าหรือไม่กระทำการใดเป็น
การกระทำที่ทำให้ผู้ถูกข่มขืนใจกลัวแล้วเป็นความผิดตามมาตรานี้หรือการขู่ว่าจะชวน
พวกนักเลงมาทำร้ายให้ระวังตัวไว้เป็นการพูดข่มขู่ว่าจะทำอันตรายในอนาคต
การข่มขืนใจผู้อื่นโดยท าให้กลัวนั้นอาจเป็นการขืนใจที่จะทำอันตรายต่อ ชีวิต
เช่น การข่มขู่ว่าจะฆ่า อันตรายต่อร่างกาย เช่น การข่มขู่ว่าจะมาท าร้าย พาพวกมากระทืบ
หรือจะปล่อยให้หมากัด อันตรายต่อเสรีภาพ เช่น การข่มขู่ว่าจะจับไปขัง หรือพาคนมาปิด
ล้อม อันตรายต่อชื่อเสียง เช่น การข่มขู่ว่าจะทำเอาความลับไปบอกคนอื่น อันตรายต่อ
ทรัพย์สิน เช่น การข่มขู่ว่าจะพาพวกมาทำลายร้าน จะเผาบ้าน
การข่มขู่ให้กลัวนั้นอาจะเป็นการขู่ว่าจะทำต่อผู้ที่ถูกข่มขู่เองหรือของบุคคลใด ๆ
ก็ได้ เช่น การข่มขืนใจสามีหากไม่ยอมกระทำตามจะทำร้ายภริยา เป็นต้น
การข่มขืนใจผู้อื่นโดยใช้ก าลังประทุษร้าย (compels the other person by
commits violence) เป็นการข่มขืนใจโดยใช้กำลังประทุษร้าย
2.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดฐานข่มขืนใจผู้อื่น ตามมาตรา 309 หรือไหม
ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำการใด ไม่กระทำการใด หรือจำยอมต่อ
สิ่งใด โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้
ถูกข่มขืนใจนั้นเอง หรือของผู้อื่น หรือโดยใช้ก าลังประทุษร้าย จนผู้ถูกข่มขืนใจต้องกระทำ
การนั้น ไม่กระทำการนั้น หรือจำยอมต่อสิ่งนั้น
3.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ละเมิดสิทธิและเสรีภาพ ตามรัฐธรรมนูญ หรือไหม
ความหมาย
สิทธิ คือ ประโยชน์หรืออำนาจของบุคคลที่กฎหมายรับรองและคุ้มครองมิให้มีการละเมิด รวมทั้งบังคับการให้เป็นไปตามสิทธิในกรณีที่มีการละเมิดด้วย เช่น สิทธิในครอบครัว สิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัว สิทธิในเกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในการเลือกอาชีพ ถิ่นที่อยู่ การเดินทาง สิทธิในทรัพย์สิน เป็นต้น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 อธิบายความหมาย “สิทธิ” ไว้ว่า “ความสำเร็จ หรืออำนาจที่จะกระทำการใด ๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองจากกฎหมาย”[1]
เสรีภาพ เป็นคำที่ถูกใช้เคียงคู่กับคำว่า “สิทธิ” เสมอว่า “สิทธิเสรีภาพ” จนเข้าใจว่ามีความหมายอย่างเดียวกัน แท้จริงแล้ว คำว่า “เสรีภาพ” หมายถึง อำนาจตัดสินใจด้วยตนเองของมนุษย์ที่จะเลือกดำเนินพฤติกรรมของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอื่นใดอ้างหรือใช้อำนาจแทรกแซงเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจนั้น และเป็นการตัดสินใจด้วยตนเองที่จะกระทำหรือไม่กระทำการสิ่งหนึ่งสิ่งใดอันไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย แต่การที่ มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมแล้วแต่ละคนจะตัดสินใจกระทำการหรือไม่กระทำการสิ่งใดนอกเหนือ นอกจากต้องปฏิบัติตามกฎหมายแล้ว ย่อมต้องคำนึงถึงกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสังคม ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรม ดังเช่น ศิลาจารึกหลักที่ 1 สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช บ่งบอกถึงเรื่องเสรีภาพในการประกอบอาชีพไว้อย่างน่าสนใจว่า “เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ลูท่าง เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้าง ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจะใคร่ค้าเงือนค้าทอง ค้า …”[2]
สิทธิและเสรีภาพ จึงเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการบ่งชี้ว่าสังคมหรือบ้านเมืองใด มีความสงบสุขมีสันติ มีความเป็นประชาธิปไตยหรือไม่
สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ได้นำเรื่องการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนมาบัญญัติไว้เป็นครั้งแรก ว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนาหรือลัทธิใด ๆ และมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อถือของตน เมื่อไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของพลเมืองและไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมของประชาชน”[3] และ “ภายในบังคับแห่งกฎหมาย บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในร่างกาย เคหสถาน ทรัพย์สิน การพูด การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การประชุมโดยเปิดเผย การตั้งสมาคม การอาชีพ”[4] แม้ว่าจะวางหลักไว้อย่างกว้าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ แต่ในเมื่อไม่มีกฎหมายมารองรับ ในบางเรื่องจึงมีการละเมิดจนเกิดผลเสียต่อการปกครองบ้านเมือง เช่น การตั้งสมาคมคณะราษฎร ที่มีกิจกรรมในทางการเมืองประหนึ่งเป็นพรรคการเมืองที่มุ่งเน้นส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง จนกระทั่งนำไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างคณะราษฎรกับขุนนางชั้นสูง เป็นต้น
4.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย พยายามฆ่า หรือเปล่า
มาตรา 395 ผู้ใดทำร้ายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อื่นนั้น ผู้นั้นกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกาย ป.อาญา
ตามที่ตำรวจรายงานว่า วัยรุ่นเข้าทำร้ายลุงวิศวกร หลังมอบตัว
5.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดให้การเท็จต่อพนักงานสอบสวน ไหม
จริงๆ ถ้าผู้ต้องหาให้การเท็จต่อ เจ้าหน้าที่ถือว่าไม่ผิดตามสิทธิของผู้ต้องหาคดีอาญา ตามที่ผมเข้าใจ
แต่คนที่ให้การเท็จกลับเป็นฝั่งผู้เสียหาย ให้การเท็จเพือปกปิดการกระทำของตน ทำให้รูปคดีเสีย หรือไหม
6.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดฐานหมิ่นประมาท หรือไหม
กรณีที่กลุ่มวัยรุ่น ออกสื่อรายการณ์โทรทัศน์ และ ใส่ความ คุณลุงวิศวกร ว่า ตนเองและพวกเป็นผู้ถูกกระทำ
ซึ่ง คำพูดต่างๆ ที่ใส่ร้าย คุณลุง ทำให้คุณลุงซื่อเสียงเสียหาย จะมีความผิดข้อหา หมิ่นประมาท ตาม
มาตรา 326* ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
*[มาตรา 326 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมายอาญา (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535]
มาตรา 327 ผู้ใดใส่ความผู้ตายต่อบุคคลที่สาม และการใส่ความนั้นน่าจะเป็นเหตุให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตายเสียชื่อเสียงถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษดังบัญญัติไว้ในมาตรา 326 นั้น
มาตรา 328* ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำให้ปรากฎไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษรกระทำโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
*[มาตรา 328 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมายอาญา (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535]
7.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ หรือไหม
มีภาพวอนเน็ตว่า เพื่อนผู้เสียชีวิต ได้ทำการโพสต์ข้อความ ด่าทอคุณลุง และบอกว่า จะฆ่า คุณลุง และครอบครัวด้วย
ซึ่งตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา ๓ นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา ตามนี้
ดังที่กล่าวมา ถ้าเป็นความผิดตามที่กล่าวมา วัยรุ่นกล่มนั้นจะเป็นยังไงบ้าง
ลุงวิศวกร ยิงขาโจ๋ดับ
รู้สึกสนใจคดีนี้มาก คือ ตรงที่เด็กวัยรุ่นเพื่อนผู้เสียชีวิต ออกสื่อโทรทัศน์ประนามการกระทำของลุง แต่ความจริงดันปรากฎ ที่หลังดังในคลิป ว่า คนที่เข้ามาทำร้ายเค้าก่อนคือวัยรุ่น (เห็นตอนสัมภาท์หลังเกิดเหตุ ยังคิดเล่นๆ ว่า นี้มัน พ่อค้ายาใช่ไหม ) แค่มุขครับ คดีนี้ คงเรียกว่าปิดคดีได้แล้ว แต่ผมยังมีเรื่อง
สงสัยหลายประการ หากใครรู้ช่วยบอกที
1.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ประทุษร้ายต่อชีวิตและทรัพย์สินผู้อื่น หรือไหม
สาระสำคัญต้องทำให้ผู้ถูกกระทำกลัว หากเป็นการพูดหยอกล้อ
กัน ก็ไม่มีความผิดตามมาตรานี้เช่น การใช้ปืนปลอมมขู่ให้กระท าหรือไม่กระทำการใดเป็น
การกระทำที่ทำให้ผู้ถูกข่มขืนใจกลัวแล้วเป็นความผิดตามมาตรานี้หรือการขู่ว่าจะชวน
พวกนักเลงมาทำร้ายให้ระวังตัวไว้เป็นการพูดข่มขู่ว่าจะทำอันตรายในอนาคต
การข่มขืนใจผู้อื่นโดยท าให้กลัวนั้นอาจเป็นการขืนใจที่จะทำอันตรายต่อ ชีวิต
เช่น การข่มขู่ว่าจะฆ่า อันตรายต่อร่างกาย เช่น การข่มขู่ว่าจะมาท าร้าย พาพวกมากระทืบ
หรือจะปล่อยให้หมากัด อันตรายต่อเสรีภาพ เช่น การข่มขู่ว่าจะจับไปขัง หรือพาคนมาปิด
ล้อม อันตรายต่อชื่อเสียง เช่น การข่มขู่ว่าจะทำเอาความลับไปบอกคนอื่น อันตรายต่อ
ทรัพย์สิน เช่น การข่มขู่ว่าจะพาพวกมาทำลายร้าน จะเผาบ้าน
การข่มขู่ให้กลัวนั้นอาจะเป็นการขู่ว่าจะทำต่อผู้ที่ถูกข่มขู่เองหรือของบุคคลใด ๆ
ก็ได้ เช่น การข่มขืนใจสามีหากไม่ยอมกระทำตามจะทำร้ายภริยา เป็นต้น
การข่มขืนใจผู้อื่นโดยใช้ก าลังประทุษร้าย (compels the other person by
commits violence) เป็นการข่มขืนใจโดยใช้กำลังประทุษร้าย
2.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดฐานข่มขืนใจผู้อื่น ตามมาตรา 309 หรือไหม
ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำการใด ไม่กระทำการใด หรือจำยอมต่อ
สิ่งใด โดยทำให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของผู้
ถูกข่มขืนใจนั้นเอง หรือของผู้อื่น หรือโดยใช้ก าลังประทุษร้าย จนผู้ถูกข่มขืนใจต้องกระทำ
การนั้น ไม่กระทำการนั้น หรือจำยอมต่อสิ่งนั้น
3.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ละเมิดสิทธิและเสรีภาพ ตามรัฐธรรมนูญ หรือไหม
ความหมาย
สิทธิ คือ ประโยชน์หรืออำนาจของบุคคลที่กฎหมายรับรองและคุ้มครองมิให้มีการละเมิด รวมทั้งบังคับการให้เป็นไปตามสิทธิในกรณีที่มีการละเมิดด้วย เช่น สิทธิในครอบครัว สิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัว สิทธิในเกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในการเลือกอาชีพ ถิ่นที่อยู่ การเดินทาง สิทธิในทรัพย์สิน เป็นต้น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 อธิบายความหมาย “สิทธิ” ไว้ว่า “ความสำเร็จ หรืออำนาจที่จะกระทำการใด ๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองจากกฎหมาย”[1]
เสรีภาพ เป็นคำที่ถูกใช้เคียงคู่กับคำว่า “สิทธิ” เสมอว่า “สิทธิเสรีภาพ” จนเข้าใจว่ามีความหมายอย่างเดียวกัน แท้จริงแล้ว คำว่า “เสรีภาพ” หมายถึง อำนาจตัดสินใจด้วยตนเองของมนุษย์ที่จะเลือกดำเนินพฤติกรรมของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอื่นใดอ้างหรือใช้อำนาจแทรกแซงเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจนั้น และเป็นการตัดสินใจด้วยตนเองที่จะกระทำหรือไม่กระทำการสิ่งหนึ่งสิ่งใดอันไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย แต่การที่ มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมแล้วแต่ละคนจะตัดสินใจกระทำการหรือไม่กระทำการสิ่งใดนอกเหนือ นอกจากต้องปฏิบัติตามกฎหมายแล้ว ย่อมต้องคำนึงถึงกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสังคม ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรม ดังเช่น ศิลาจารึกหลักที่ 1 สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช บ่งบอกถึงเรื่องเสรีภาพในการประกอบอาชีพไว้อย่างน่าสนใจว่า “เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ลูท่าง เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้าง ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจะใคร่ค้าเงือนค้าทอง ค้า …”[2]
สิทธิและเสรีภาพ จึงเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการบ่งชี้ว่าสังคมหรือบ้านเมืองใด มีความสงบสุขมีสันติ มีความเป็นประชาธิปไตยหรือไม่
สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ได้นำเรื่องการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนมาบัญญัติไว้เป็นครั้งแรก ว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนาหรือลัทธิใด ๆ และมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อถือของตน เมื่อไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของพลเมืองและไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมของประชาชน”[3] และ “ภายในบังคับแห่งกฎหมาย บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในร่างกาย เคหสถาน ทรัพย์สิน การพูด การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การประชุมโดยเปิดเผย การตั้งสมาคม การอาชีพ”[4] แม้ว่าจะวางหลักไว้อย่างกว้าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ แต่ในเมื่อไม่มีกฎหมายมารองรับ ในบางเรื่องจึงมีการละเมิดจนเกิดผลเสียต่อการปกครองบ้านเมือง เช่น การตั้งสมาคมคณะราษฎร ที่มีกิจกรรมในทางการเมืองประหนึ่งเป็นพรรคการเมืองที่มุ่งเน้นส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง จนกระทั่งนำไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างคณะราษฎรกับขุนนางชั้นสูง เป็นต้น
4.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย พยายามฆ่า หรือเปล่า
มาตรา 395 ผู้ใดทำร้ายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อื่นนั้น ผู้นั้นกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกาย ป.อาญา
ตามที่ตำรวจรายงานว่า วัยรุ่นเข้าทำร้ายลุงวิศวกร หลังมอบตัว
5.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดให้การเท็จต่อพนักงานสอบสวน ไหม
จริงๆ ถ้าผู้ต้องหาให้การเท็จต่อ เจ้าหน้าที่ถือว่าไม่ผิดตามสิทธิของผู้ต้องหาคดีอาญา ตามที่ผมเข้าใจ
แต่คนที่ให้การเท็จกลับเป็นฝั่งผู้เสียหาย ให้การเท็จเพือปกปิดการกระทำของตน ทำให้รูปคดีเสีย หรือไหม
6.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดฐานหมิ่นประมาท หรือไหม
กรณีที่กลุ่มวัยรุ่น ออกสื่อรายการณ์โทรทัศน์ และ ใส่ความ คุณลุงวิศวกร ว่า ตนเองและพวกเป็นผู้ถูกกระทำ
ซึ่ง คำพูดต่างๆ ที่ใส่ร้าย คุณลุง ทำให้คุณลุงซื่อเสียงเสียหาย จะมีความผิดข้อหา หมิ่นประมาท ตาม
มาตรา 326* ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
*[มาตรา 326 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมายอาญา (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535]
มาตรา 327 ผู้ใดใส่ความผู้ตายต่อบุคคลที่สาม และการใส่ความนั้นน่าจะเป็นเหตุให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตายเสียชื่อเสียงถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษดังบัญญัติไว้ในมาตรา 326 นั้น
มาตรา 328* ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำให้ปรากฎไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษรกระทำโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
*[มาตรา 328 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมายอาญา (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535]
7.การกระทำของกลุ่มวัยรุ่นเข้าข่าย ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ หรือไหม
มีภาพวอนเน็ตว่า เพื่อนผู้เสียชีวิต ได้ทำการโพสต์ข้อความ ด่าทอคุณลุง และบอกว่า จะฆ่า คุณลุง และครอบครัวด้วย
ซึ่งตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา ๓ นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา ตามนี้
ดังที่กล่าวมา ถ้าเป็นความผิดตามที่กล่าวมา วัยรุ่นกล่มนั้นจะเป็นยังไงบ้าง