บางตำราเขียนไว้ว่า..
เป็นลักษณะของสังขาร ไม่ใช่ลักษณะของสิ่งที่เป็นวิสังขาร หรือลักษณะครึ่งๆกลางๆ
เอกลักษณะ ทวิลักษณะ อย่างนั้นไม่มีแน่ๆ นิยามอย่างนั้นพระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสไว้
แต่บางตำรามันทำให้คนผู้ศึกษาสับสนเอาได้เหมือนกัน เช่น..
ไตรลักษณ์ ลักษณะสาม อาการที่เป็นเครื่องกำหนดหมายให้รู้ถึงความจริงของสภาวธรรมทั้งหลาย ที่เป็นอย่างนั้นๆ
๓ ประการ ได้แก่
๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง
๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความเป็นของคงทนอยู่มิได้
๓. อนัตตตา ความเป็นของมิใช่ตัวตน
(คนไทยนิยมพูดสั้นๆ ว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา และแปลง่ายๆว่า “ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา”)
ลักษณะเหล่านี้มี ๓ อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์,
ลักษณะทั้ง ๓ เหล่านี้มีแก่ธรรมที่เป็นสังขตะ คือสังขารทั้งปวง เป็นสามัญเสมอเหมือนกัน จึงเรียกว่า สามัญญลักษณะ
(ไม่สามัญแก่ธรรมที่เป็นอสังขตะ คือวิสังขาร ซึ่งมีเฉพาะลักษณะที่สาม คืออนัตตาอย่างเดียว ไม่มีลักษณะสองอย่างต้น);
ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฏธรรมชาติ มีอยู่ตลอดเวลา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม
พึงทราบว่า พระบาลีในพระไตรปิฎก เรียกว่า ธรรมนิยาม (ธมฺมนิยามตา) ส่วน ไตรลักษณ์ และสามัญลักษณะ เป็นคำที่เกิดขึ้นในยุคอรรถกถา
ย้ำคำนี้..
(ไม่สามัญแก่ธรรมที่เป็นอสังขตะ คือวิสังขาร ซึ่งมีเฉพาะลักษณะที่สาม คืออนัตตาอย่างเดียว ไม่มีลักษณะสองอย่างต้น);
ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฏธรรมชาติ มีอยู่ตลอดเวลา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม
พึงทราบว่า พระบาลีในพระไตรปิฎก เรียกว่า ธรรมนิยาม (ธมฺมนิยามตา) ส่วน ไตรลักษณ์ และสามัญลักษณะ เป็นคำที่เกิดขึ้นในยุคอรรถกถา
ถ้าจะเขียนแค่ว่า (ไม่สามัญแก่ธรรมที่เป็นอสังขตะ คือวิสังขาร) อย่างนี้มันก็ไม่มีปัญหา
แต่พอเขียนต่อไปว่า..
ซึ่งมีเฉพาะลักษณะที่สาม คืออนัตตาอย่างเดียว ไม่มีลักษณะสองอย่างต้น
ถ้าอย่างนี้ความสับสนมันเกิดขึ้นมาทันที และยิ่งเสริมเข้าไปอีกว่า มีแต่ลักษณะ 2 อย่างข้างตันเท่านั้น คือ
มันก็เลยกลายเป็น เทียง เป็นสุข เป็นอนัตตา มันยี่งไปกันใหญ่
มันมีอย่างนี้ในโลกด้วยหรือ..
ตกลงโลก หรือคนกันแน่ที่ เพี้ยน ?
ไตรลักษณ์ แปลว่า ลักษณะ 3 อย่าง
เป็นลักษณะของสังขาร ไม่ใช่ลักษณะของสิ่งที่เป็นวิสังขาร หรือลักษณะครึ่งๆกลางๆ
เอกลักษณะ ทวิลักษณะ อย่างนั้นไม่มีแน่ๆ นิยามอย่างนั้นพระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสไว้
แต่บางตำรามันทำให้คนผู้ศึกษาสับสนเอาได้เหมือนกัน เช่น..
ไตรลักษณ์ ลักษณะสาม อาการที่เป็นเครื่องกำหนดหมายให้รู้ถึงความจริงของสภาวธรรมทั้งหลาย ที่เป็นอย่างนั้นๆ
๓ ประการ ได้แก่
๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง
๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความเป็นของคงทนอยู่มิได้
๓. อนัตตตา ความเป็นของมิใช่ตัวตน
(คนไทยนิยมพูดสั้นๆ ว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา และแปลง่ายๆว่า “ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา”)
ลักษณะเหล่านี้มี ๓ อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์,
ลักษณะทั้ง ๓ เหล่านี้มีแก่ธรรมที่เป็นสังขตะ คือสังขารทั้งปวง เป็นสามัญเสมอเหมือนกัน จึงเรียกว่า สามัญญลักษณะ
(ไม่สามัญแก่ธรรมที่เป็นอสังขตะ คือวิสังขาร ซึ่งมีเฉพาะลักษณะที่สาม คืออนัตตาอย่างเดียว ไม่มีลักษณะสองอย่างต้น);
ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฏธรรมชาติ มีอยู่ตลอดเวลา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม
พึงทราบว่า พระบาลีในพระไตรปิฎก เรียกว่า ธรรมนิยาม (ธมฺมนิยามตา) ส่วน ไตรลักษณ์ และสามัญลักษณะ เป็นคำที่เกิดขึ้นในยุคอรรถกถา
ย้ำคำนี้..
(ไม่สามัญแก่ธรรมที่เป็นอสังขตะ คือวิสังขาร ซึ่งมีเฉพาะลักษณะที่สาม คืออนัตตาอย่างเดียว ไม่มีลักษณะสองอย่างต้น);
ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฏธรรมชาติ มีอยู่ตลอดเวลา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม
พึงทราบว่า พระบาลีในพระไตรปิฎก เรียกว่า ธรรมนิยาม (ธมฺมนิยามตา) ส่วน ไตรลักษณ์ และสามัญลักษณะ เป็นคำที่เกิดขึ้นในยุคอรรถกถา
ถ้าจะเขียนแค่ว่า (ไม่สามัญแก่ธรรมที่เป็นอสังขตะ คือวิสังขาร) อย่างนี้มันก็ไม่มีปัญหา
แต่พอเขียนต่อไปว่า..
ซึ่งมีเฉพาะลักษณะที่สาม คืออนัตตาอย่างเดียว ไม่มีลักษณะสองอย่างต้น
ถ้าอย่างนี้ความสับสนมันเกิดขึ้นมาทันที และยิ่งเสริมเข้าไปอีกว่า มีแต่ลักษณะ 2 อย่างข้างตันเท่านั้น คือ
มันก็เลยกลายเป็น เทียง เป็นสุข เป็นอนัตตา มันยี่งไปกันใหญ่
มันมีอย่างนี้ในโลกด้วยหรือ..
ตกลงโลก หรือคนกันแน่ที่ เพี้ยน ?