สวัสดีครับ ขอต่อจากกระทู้ที่แล้วนะครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://ppantip.com/topic/35996910
วันที่ผ่านมา ผมได้ไปเรียนรู้อะไรมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้ พอดีญาติคนรู้จักได้เสีย ผมเลยไปงานศพ และก่อนเผา ได้เปิดโรงมาก่อนเผาให้ญาติดู ผมเห็นแล้วเป็นเพียงร่างธรรมดาที่ไม่สามารถใช้งานได้ ทุกอย่างในร่างกายหยุดทำงาน สีของผิวหนังเปลี่ยนไป ทุกๆอย่างเปลี่ยนไป เป็นเหมือน ร่างของ หมู เห็ด เป็ด ไก่ สิ่งมีชีวิตแล้วก็ตายเหมือนยกันทุกอย่างปกติ ผมได้นั่งคิดอะไรเล่นๆ และหาเหตุและผลหลายๆอย่าง วันผ่านๆมาก่อนเผาจะมีพระมาสวด ผมเลยอยากรู้ว่าที่สวดนั้นคืออะไร
โดยบทสวดทั้งหมดนี้ผมไปหาข้อมูลมา เหมือนรู้สึกว่าเป็นเพียงคำสอนต่างๆ เมื่อแปลเป็นภาษาไทย ทำให้ผมรู้เลยว่า สิ่งที่ผมคิดสิ่งที่ผมเคยบอกมันยิ่งชัดเจนขึ้นทุกที
ตายแล้วไปไหน? ลงนรก? ขึ้นสวรรค์? ไม่ได้ไปไหนเลย ตายแล้วก็คือ 0 ไม่รู้เรื่อง ไม่เจ็บ ไม่มีห่วงอะไรอีกแล้ว คนเค้าเลยบอกว่าไปสบายไงครับ ไม่ต้องคิดถึง ค่าบ้าน ค่ารถ ฯลฯ เป็นต้น
พระสังคิณี
กุสะลา ธัมมา, พระธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข
อะกุสะลา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล, ให้ผลเป็นความทุกข์,
อัพ๎ยากะตา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต, เป็นจิตกลาง ๆ อยู่,
กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่าใดเป็นกุศล
ยัส๎ะมิง สะมะเย, ในสมัยใด,
กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง, กามาวจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส, คือความยินดี, ประกอบด้วยญาน คือ ปัญญาเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใด ๆ,
รูปารัมมะนัง วา, จะเป็นรูปารมณ์, คือยินดีในรูปเป็นอารมณ์ก็ดี,
สัททารัมมะนัง วา, จะเป็นสัททารมณ์, คือยินดีในเสียงเป็นอารมณ์ก็ดี,
คันธารัมมะนัง วา, จะเป็นคันธารมณ์, คือยินดีในกลิ่นเป็นอารมณ์ก็ดี,
ระสารัมมะนัง วา, จะเป็นรสารมณ์, คือยินดีในรสเป็นอารมณ์ก็ดี,
โผฏฐัพพารัมมะนัง วา, จะเป็นโผฏฐัพพารมณ์, คือยินดีในสิ่งที่กระทบถูกต้องกายเป็นอารมณ์ก็ดี,
ธัมมารัมมะนัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, จะเป็นธรรมารมณ์, คือยินดีในธรรมเป็นอารมณ์ก็ดี,
ตัส๎ะมิง สะมะเย ผัสโส โหติ, อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัส๎ะมิง สะมะเย, อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา, ในสมัยนั้นผัสสะและความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมี, อีกอย่างหนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด, แม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูป, อาศัยกันและกันเกิดขึ้น,
อิเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข
พระวิภังค์
ปัญจักขันธา, ขันธ์ห้าคือส่วนประกอบหน้าอย่างที่รวมเข้าเป็นชีวิต ได้แก่,
รูปักขันโธ, รูปขันธ์คือส่วนที่เป็นรูปภายนอกและภายในคือร่างกายนี้, ประกอบด้วยธาตุ ๔,
เวทะนากขันโธ, เวทนาขันธ์คือความรู้สึกเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ,
สัญญากขันโธ, สัญญาขันธ์คือความจำได้หมายรู้ในอารมณ์ ๖,
สังขารักขันโธ, สังขารขันธ์คือความคิดที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่วหรือเป็นกลาง ๆ,
วิญญาณักขันโธ, วิญญาณขันธ์คือความรู้แจ้งในอารมณ์ ทางอายตนะทั้ง ๖,
ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, บรรดาขันธ์ทั้งหมดรูปขันธ์เป็นอย่างไร,
ยังกิญจิ รูปัง, รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง,
อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง, ที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน,
อัชฌัตตัง วา, ภายในก็ตาม,
พะหิทธา วา, ภายนอกก็ตาม,
โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา, หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม
นัง วา ปะณีตัง วา, เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม
ยัง ทูเร วา สันติเก วา, อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม,
ตะเทกัชฌัง อะภิสัญญูหิต๎วา อะภิสังขิปิต๎วา, ย่นกล่าวร่วมกัน,
อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ, เรียกว่ารูปขันธ์
พระธาตุกถา
สังคะโห อะสังคะโห, การสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ,
สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง, สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์แล้ว,
อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง, สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้,
สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง, สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้,
อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง, สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้,
สัมปะโยโค วิปปะโยโค, การอยู่ด้วยกัน การพลัดพรากกัน คือ,
สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง, การพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน
วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง, การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไป
อะสังคะหิตัง, จัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้
พระปุคคลปัญญัตติ
ฉะปัญญัตติโย, บัญญัติ ๖ ประการ, อันบัณฑิตผู้รู้พึงบัญญัติขึ้น คือ,
ขันธะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่เป็นหมวดหมู่กันเรียกว่าขันธ์ มี ๕,
อายะตะนะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมอันเป็นบ่อเกิด (แห่งทุกข์และไม่ทุกข์), เรียกว่าอายตนะ มี ๑๒,
ธาตุปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่ทรงตัวอยู่เรียกว่าธาตุ มี ๑๘,
สัจจะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่เป็นของจริงเรียกว่าสัจจะ มี ๔, คือ อริยสัจจ์ ๔,
อินท๎ริยะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่เป็นใหญ่เรียกว่าอินทรีย์ มี ๒๒,
ปุคคะละปัญญัตติ, การบัญญัติจำพวกบุคคลของบุคคลทั้งหลาย,
กิตตาวะตา ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, บุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไร,
สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต, ผู้พ้นในกาลบางคราว, ผู้พ้นอย่างเด็ดขาด,
กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม, ผู้มีธรรมที่กำเริบได้, ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้,
ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม, ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้, ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้,
เจตะนาภัพโพ อะนุรักขะนาภัพโพ, ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา, ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา,
ปุถุชชะโน โคต๎ระภู, ผู้เป็นปุถุชน, ผู้คร่อมโคตร,
ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต, ผู้เว้นชั่วเพราะกลัว, ผู้เว้นชั่วไม่ใช่เพราะกลัว,
ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน, ผู้ควรแก่มรรคผลนิพพาน, ผู้ไม่ควรแก่มรรคผลนิพพาน,
นิยะโต อะนิยะโต, ผู้เที่ยง, ผู้ไม่เที่ยง,
ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต, ผู้ปฏิบัติอริยมรรค, ผู้ตั้งอยู่ในอริยผล,
อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปันโน, ผู้เป็นพระอรหันต์, ผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอรหันต์
พระกถาวัตถุ
ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือความหมายอันแท้จริงหรือ ?,
อามันตา, ถูกแล้ว,
โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ, ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, ปรมัตถ์ คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่, ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ ?
นะ เหวัง วัตตัพเพ, ท่านไม่ควรกล่าวอย่างนั้น,
อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะ เตนะ วะตะ เร วัตตัพเพ, โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ มิจฉา, ท่านจงรู้นิคหะ (การข่ม ปราม) เถิด, ถ้าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือโดยความหมายอันแท้จริงแล้ว, ท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่าปรมัตถ์, คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่, เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้น, คำตอบของท่านที่ว่าปรมัตถ์ คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่, เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นจึงผิด,
พระยมก
เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล,
สัพเพ เต กุสะละมูลา, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล,
เย วา ปะนะ กุสะละมูลา, อีกอย่างหนึ่งธรรมเหล่าใด มีกุศลเป็นมูล,
สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล,
เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล,
สัพเพ เต กะสุละมูเลนะ เอกะมูลา, ธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล,
เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, อีกอย่างหนึ่งธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่มีกุศล เป็นมูล,
สัพเพ เต ธัมมากุสะลา, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล
พระมหาปัฏฐาน
เหตุปัจจะโย, ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย,
อารัมมะณะปัจจะโย, ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย,
อะธิปะติปัจจะโย, ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย,
อะนันตะระปัจจะโย, ธรรมที่มีปัจจัยไม่มีอะไรคั่นในระหว่าง,
สะมะนันตะระปัจจะโย, ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน,
สะหะชาตะปัจจะโย, ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย,
อัญญะมัญญะปัจจะโย, ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน,
นิสสะยะปัจจะโย, ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย,
อุปะนิสสะยะปัจจะโย, ธรรมที่มีอุปนิสัยเป็นปัจจัย,
ปุเรชาตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการเกิดก่อนเป็นปัจจัย,
ปัจฉาชาตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการเกิดภายหลังเป็นปัจจัย,
อาเสวะนะปัจจะโย, ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย,
กัมมะปัจจะโย, ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย
วิปากะปัจจะโย, ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย,
อาหาระปัจจะโย, ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย,
อินท๎ริยะปัจจะโย, ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย,
ฌานะปัจจะโย, ธรรมที่มีฌานเป็นปัจจัย,
มัคคะปัจจะโย, ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย,
สัมปะยุตตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย,
วิปปะยุตตะปัจจะโย, ธรรมที่ไม่มีการประกอบเป็นปัจจัย,
อัตถิปัจจะโย, ธรรมที่มีปัจจัย,
นัตถิปัจจะโย, ธรรมที่ไม่มีปัจจัย,
วิคะตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย,
อะวิคะตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย
การทำพิธีกรรมศพแบบนี้และแบบอื่นๆ และทุกๆ ศาสนา แบบ ไทย หรือ แบบจีนก็ตาม อาจเป็นเพียงพิธีกรรมความเชื่อ เพื่อแสดงความกตัญญู ต่อ ผู้ล่วงลับไปแล้ว ว่าเราไม่ได้นิ่งเฉย ยังทำให้อยู่ ไม่อายขายขี้หน้าเขา ว่าเรามีเงิน ว่าเรารู้จักคนเยอะ ฯลฯ คนต่างจังหวัดและคนกรุงเทพบางกลุ่มคิดแบบนี้ครับ แต่ถามว่าที่มากล่าวนี้เชื่อไหมความเชื่อนี้ ผมเชื่อครับ โดยเชื่อแบบเป็นธรรมเนียม ทำตามโบราณ เชื่อตามความเหตุและผล เพื่อแสดงความกตัญญู ครับ
และการเผากระดาษเงินทอง บ้าน รถ นาฬิกา ฯลฯ มันอาจจะเป็นการแสดงความกตัญญู ของคนจีนครับ การตลาดของวงการนี้มีอยู่ ผมถามหน่อยทำไมต้องมี ธูป ทำไมต้องมี เทียน ทำไมต้องมีกระดาษเงินทอง ทำไมต้องไหว้ผีต้องใช้น้ำแดง ฯลฯ เยอะแยะไปหมด ทุกๆการกระทำ ทุกๆพิธีกรรม ล้วนมีการตลาด นักธุรกิจอยู่ทุกๆศาสนา กระทั้งศาลเจ้าจีน ก็เป็นธุรกิจ ทำไมผมถึงรู้ครับ อากงผมเคยดูแลศาลเจ้าครับ เป็นหุ้นส่วน เงินที่บริจาคมา จะไปที่ลูกหลานหมด เพราะจัดงานที มีหนังมาฉาย หรืองานอะไรต่างๆที่ศาลเจ้ามี เงินจะเข้ามาก้อนใหญ่ครับ เป็นหลักแสนเลยทีเดียว ไม่ธรรมดาเลยใช่ไหมครับ ยอดเงินหารกับหุ้นส่วนเสร็จเหลือ เศษๆเงินก็เอาเงินไปสร้าง มังกรรอบเสา หรือรับบริจาคสร้างนู้นสร้างนี่ ฯลฯ เหมือนหลายๆ ศาสนาครับหนีไม่พ้น ปัจจัย เงินๆ ทองๆ ผมเลยพยายามอธิายให้เข้าใจครับ ศาสนามีใว้ให้คนเป็นคนดี ให้มีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจเท่านั้น เราควรใช้สติในการทำอะไรให้มากขึ้น
ยกตัวอย่างความเชื่อ ตุ๊กตาเทพ ใครมีจะรวย นี่ก็เป็นนักธุรกิจอีกครับ ที่ตลาดตุ๊กตา ช่วงนั้นขายไม่ดี ไม่มีใครซื้อ ที่ขายดีจะเป็นพวกตุ๊กตาหมี หรือ การ์ตูนน่ารักๆ เลยดึงจุดขายบ้าๆบอๆ แบบนี้ออกมาให้คนมีปัญญาเยอะแต่น้อยกว่าหลายๆคน ได้ซื้อสอยกันเป็นความเชื่ออีกแบบนึงครับ แต่ก็ว่าเค้าไม่ได้ Product ของเค้าคือความเชื่อ เพียงหากเราทำแล้วเสียเงินแล้วเราสบายใจ รู้สึกดี มีความสุข เราก็ทำไปครับ (นี่แค่ความคิดของผมคนเดียวเท่านั้นน่ะครับไม่ได้เกี่ยวกับใครเลย ผมมอง ผมเห็น ผมคิด ด้วยเหตุและผลของผมเองเท่านั้น)
ภาค 2 แชร์อีกมุมมองส่วนตัว ตายแล้วไปไหน? ลงนรก? ขึ้นสวรรค์?
วันที่ผ่านมา ผมได้ไปเรียนรู้อะไรมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้ พอดีญาติคนรู้จักได้เสีย ผมเลยไปงานศพ และก่อนเผา ได้เปิดโรงมาก่อนเผาให้ญาติดู ผมเห็นแล้วเป็นเพียงร่างธรรมดาที่ไม่สามารถใช้งานได้ ทุกอย่างในร่างกายหยุดทำงาน สีของผิวหนังเปลี่ยนไป ทุกๆอย่างเปลี่ยนไป เป็นเหมือน ร่างของ หมู เห็ด เป็ด ไก่ สิ่งมีชีวิตแล้วก็ตายเหมือนยกันทุกอย่างปกติ ผมได้นั่งคิดอะไรเล่นๆ และหาเหตุและผลหลายๆอย่าง วันผ่านๆมาก่อนเผาจะมีพระมาสวด ผมเลยอยากรู้ว่าที่สวดนั้นคืออะไร
โดยบทสวดทั้งหมดนี้ผมไปหาข้อมูลมา เหมือนรู้สึกว่าเป็นเพียงคำสอนต่างๆ เมื่อแปลเป็นภาษาไทย ทำให้ผมรู้เลยว่า สิ่งที่ผมคิดสิ่งที่ผมเคยบอกมันยิ่งชัดเจนขึ้นทุกที
ตายแล้วไปไหน? ลงนรก? ขึ้นสวรรค์? ไม่ได้ไปไหนเลย ตายแล้วก็คือ 0 ไม่รู้เรื่อง ไม่เจ็บ ไม่มีห่วงอะไรอีกแล้ว คนเค้าเลยบอกว่าไปสบายไงครับ ไม่ต้องคิดถึง ค่าบ้าน ค่ารถ ฯลฯ เป็นต้น
พระสังคิณี
กุสะลา ธัมมา, พระธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข
อะกุสะลา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล, ให้ผลเป็นความทุกข์,
อัพ๎ยากะตา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต, เป็นจิตกลาง ๆ อยู่,
กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่าใดเป็นกุศล
ยัส๎ะมิง สะมะเย, ในสมัยใด,
กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง, กามาวจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส, คือความยินดี, ประกอบด้วยญาน คือ ปัญญาเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใด ๆ,
รูปารัมมะนัง วา, จะเป็นรูปารมณ์, คือยินดีในรูปเป็นอารมณ์ก็ดี,
สัททารัมมะนัง วา, จะเป็นสัททารมณ์, คือยินดีในเสียงเป็นอารมณ์ก็ดี,
คันธารัมมะนัง วา, จะเป็นคันธารมณ์, คือยินดีในกลิ่นเป็นอารมณ์ก็ดี,
ระสารัมมะนัง วา, จะเป็นรสารมณ์, คือยินดีในรสเป็นอารมณ์ก็ดี,
โผฏฐัพพารัมมะนัง วา, จะเป็นโผฏฐัพพารมณ์, คือยินดีในสิ่งที่กระทบถูกต้องกายเป็นอารมณ์ก็ดี,
ธัมมารัมมะนัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, จะเป็นธรรมารมณ์, คือยินดีในธรรมเป็นอารมณ์ก็ดี,
ตัส๎ะมิง สะมะเย ผัสโส โหติ, อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัส๎ะมิง สะมะเย, อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา, ในสมัยนั้นผัสสะและความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมี, อีกอย่างหนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด, แม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูป, อาศัยกันและกันเกิดขึ้น,
อิเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข
พระวิภังค์
ปัญจักขันธา, ขันธ์ห้าคือส่วนประกอบหน้าอย่างที่รวมเข้าเป็นชีวิต ได้แก่,
รูปักขันโธ, รูปขันธ์คือส่วนที่เป็นรูปภายนอกและภายในคือร่างกายนี้, ประกอบด้วยธาตุ ๔,
เวทะนากขันโธ, เวทนาขันธ์คือความรู้สึกเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ,
สัญญากขันโธ, สัญญาขันธ์คือความจำได้หมายรู้ในอารมณ์ ๖,
สังขารักขันโธ, สังขารขันธ์คือความคิดที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่วหรือเป็นกลาง ๆ,
วิญญาณักขันโธ, วิญญาณขันธ์คือความรู้แจ้งในอารมณ์ ทางอายตนะทั้ง ๖,
ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, บรรดาขันธ์ทั้งหมดรูปขันธ์เป็นอย่างไร,
ยังกิญจิ รูปัง, รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง,
อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง, ที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน,
อัชฌัตตัง วา, ภายในก็ตาม,
พะหิทธา วา, ภายนอกก็ตาม,
โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา, หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม
นัง วา ปะณีตัง วา, เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม
ยัง ทูเร วา สันติเก วา, อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม,
ตะเทกัชฌัง อะภิสัญญูหิต๎วา อะภิสังขิปิต๎วา, ย่นกล่าวร่วมกัน,
อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ, เรียกว่ารูปขันธ์
พระธาตุกถา
สังคะโห อะสังคะโห, การสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ,
สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง, สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์แล้ว,
อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง, สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้,
สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง, สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้,
อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง, สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้,
สัมปะโยโค วิปปะโยโค, การอยู่ด้วยกัน การพลัดพรากกัน คือ,
สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง, การพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน
วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง, การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไป
อะสังคะหิตัง, จัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้
พระปุคคลปัญญัตติ
ฉะปัญญัตติโย, บัญญัติ ๖ ประการ, อันบัณฑิตผู้รู้พึงบัญญัติขึ้น คือ,
ขันธะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่เป็นหมวดหมู่กันเรียกว่าขันธ์ มี ๕,
อายะตะนะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมอันเป็นบ่อเกิด (แห่งทุกข์และไม่ทุกข์), เรียกว่าอายตนะ มี ๑๒,
ธาตุปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่ทรงตัวอยู่เรียกว่าธาตุ มี ๑๘,
สัจจะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่เป็นของจริงเรียกว่าสัจจะ มี ๔, คือ อริยสัจจ์ ๔,
อินท๎ริยะปัญญัตติ, การบัญญัติธรรมที่เป็นใหญ่เรียกว่าอินทรีย์ มี ๒๒,
ปุคคะละปัญญัตติ, การบัญญัติจำพวกบุคคลของบุคคลทั้งหลาย,
กิตตาวะตา ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, บุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไร,
สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต, ผู้พ้นในกาลบางคราว, ผู้พ้นอย่างเด็ดขาด,
กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม, ผู้มีธรรมที่กำเริบได้, ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้,
ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม, ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้, ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้,
เจตะนาภัพโพ อะนุรักขะนาภัพโพ, ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา, ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา,
ปุถุชชะโน โคต๎ระภู, ผู้เป็นปุถุชน, ผู้คร่อมโคตร,
ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต, ผู้เว้นชั่วเพราะกลัว, ผู้เว้นชั่วไม่ใช่เพราะกลัว,
ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน, ผู้ควรแก่มรรคผลนิพพาน, ผู้ไม่ควรแก่มรรคผลนิพพาน,
นิยะโต อะนิยะโต, ผู้เที่ยง, ผู้ไม่เที่ยง,
ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต, ผู้ปฏิบัติอริยมรรค, ผู้ตั้งอยู่ในอริยผล,
อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปันโน, ผู้เป็นพระอรหันต์, ผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอรหันต์
พระกถาวัตถุ
ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือความหมายอันแท้จริงหรือ ?,
อามันตา, ถูกแล้ว,
โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ, ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, ปรมัตถ์ คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่, ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ ?
นะ เหวัง วัตตัพเพ, ท่านไม่ควรกล่าวอย่างนั้น,
อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะ เตนะ วะตะ เร วัตตัพเพ, โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ มิจฉา, ท่านจงรู้นิคหะ (การข่ม ปราม) เถิด, ถ้าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือโดยความหมายอันแท้จริงแล้ว, ท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่าปรมัตถ์, คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่, เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้น, คำตอบของท่านที่ว่าปรมัตถ์ คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่, เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์, คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นจึงผิด,
พระยมก
เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล,
สัพเพ เต กุสะละมูลา, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล,
เย วา ปะนะ กุสะละมูลา, อีกอย่างหนึ่งธรรมเหล่าใด มีกุศลเป็นมูล,
สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล,
เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล,
สัพเพ เต กะสุละมูเลนะ เอกะมูลา, ธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล,
เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, อีกอย่างหนึ่งธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่มีกุศล เป็นมูล,
สัพเพ เต ธัมมากุสะลา, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล
พระมหาปัฏฐาน
เหตุปัจจะโย, ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย,
อารัมมะณะปัจจะโย, ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย,
อะธิปะติปัจจะโย, ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย,
อะนันตะระปัจจะโย, ธรรมที่มีปัจจัยไม่มีอะไรคั่นในระหว่าง,
สะมะนันตะระปัจจะโย, ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน,
สะหะชาตะปัจจะโย, ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย,
อัญญะมัญญะปัจจะโย, ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน,
นิสสะยะปัจจะโย, ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย,
อุปะนิสสะยะปัจจะโย, ธรรมที่มีอุปนิสัยเป็นปัจจัย,
ปุเรชาตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการเกิดก่อนเป็นปัจจัย,
ปัจฉาชาตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการเกิดภายหลังเป็นปัจจัย,
อาเสวะนะปัจจะโย, ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย,
กัมมะปัจจะโย, ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย
วิปากะปัจจะโย, ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย,
อาหาระปัจจะโย, ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย,
อินท๎ริยะปัจจะโย, ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย,
ฌานะปัจจะโย, ธรรมที่มีฌานเป็นปัจจัย,
มัคคะปัจจะโย, ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย,
สัมปะยุตตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย,
วิปปะยุตตะปัจจะโย, ธรรมที่ไม่มีการประกอบเป็นปัจจัย,
อัตถิปัจจะโย, ธรรมที่มีปัจจัย,
นัตถิปัจจะโย, ธรรมที่ไม่มีปัจจัย,
วิคะตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย,
อะวิคะตะปัจจะโย, ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย
การทำพิธีกรรมศพแบบนี้และแบบอื่นๆ และทุกๆ ศาสนา แบบ ไทย หรือ แบบจีนก็ตาม อาจเป็นเพียงพิธีกรรมความเชื่อ เพื่อแสดงความกตัญญู ต่อ ผู้ล่วงลับไปแล้ว ว่าเราไม่ได้นิ่งเฉย ยังทำให้อยู่ ไม่อายขายขี้หน้าเขา ว่าเรามีเงิน ว่าเรารู้จักคนเยอะ ฯลฯ คนต่างจังหวัดและคนกรุงเทพบางกลุ่มคิดแบบนี้ครับ แต่ถามว่าที่มากล่าวนี้เชื่อไหมความเชื่อนี้ ผมเชื่อครับ โดยเชื่อแบบเป็นธรรมเนียม ทำตามโบราณ เชื่อตามความเหตุและผล เพื่อแสดงความกตัญญู ครับ
และการเผากระดาษเงินทอง บ้าน รถ นาฬิกา ฯลฯ มันอาจจะเป็นการแสดงความกตัญญู ของคนจีนครับ การตลาดของวงการนี้มีอยู่ ผมถามหน่อยทำไมต้องมี ธูป ทำไมต้องมี เทียน ทำไมต้องมีกระดาษเงินทอง ทำไมต้องไหว้ผีต้องใช้น้ำแดง ฯลฯ เยอะแยะไปหมด ทุกๆการกระทำ ทุกๆพิธีกรรม ล้วนมีการตลาด นักธุรกิจอยู่ทุกๆศาสนา กระทั้งศาลเจ้าจีน ก็เป็นธุรกิจ ทำไมผมถึงรู้ครับ อากงผมเคยดูแลศาลเจ้าครับ เป็นหุ้นส่วน เงินที่บริจาคมา จะไปที่ลูกหลานหมด เพราะจัดงานที มีหนังมาฉาย หรืองานอะไรต่างๆที่ศาลเจ้ามี เงินจะเข้ามาก้อนใหญ่ครับ เป็นหลักแสนเลยทีเดียว ไม่ธรรมดาเลยใช่ไหมครับ ยอดเงินหารกับหุ้นส่วนเสร็จเหลือ เศษๆเงินก็เอาเงินไปสร้าง มังกรรอบเสา หรือรับบริจาคสร้างนู้นสร้างนี่ ฯลฯ เหมือนหลายๆ ศาสนาครับหนีไม่พ้น ปัจจัย เงินๆ ทองๆ ผมเลยพยายามอธิายให้เข้าใจครับ ศาสนามีใว้ให้คนเป็นคนดี ให้มีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจเท่านั้น เราควรใช้สติในการทำอะไรให้มากขึ้น
ยกตัวอย่างความเชื่อ ตุ๊กตาเทพ ใครมีจะรวย นี่ก็เป็นนักธุรกิจอีกครับ ที่ตลาดตุ๊กตา ช่วงนั้นขายไม่ดี ไม่มีใครซื้อ ที่ขายดีจะเป็นพวกตุ๊กตาหมี หรือ การ์ตูนน่ารักๆ เลยดึงจุดขายบ้าๆบอๆ แบบนี้ออกมาให้คนมีปัญญาเยอะแต่น้อยกว่าหลายๆคน ได้ซื้อสอยกันเป็นความเชื่ออีกแบบนึงครับ แต่ก็ว่าเค้าไม่ได้ Product ของเค้าคือความเชื่อ เพียงหากเราทำแล้วเสียเงินแล้วเราสบายใจ รู้สึกดี มีความสุข เราก็ทำไปครับ (นี่แค่ความคิดของผมคนเดียวเท่านั้นน่ะครับไม่ได้เกี่ยวกับใครเลย ผมมอง ผมเห็น ผมคิด ด้วยเหตุและผลของผมเองเท่านั้น)