หลายคนคงอาจจะยังไม่รู้ว่า สะพานภูมิพล เป็นสะพานที่เกิดจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มิใช่เพียงเพราะแค่ชื่อพระราชทานเท่านั้น
"เมื่อ 20 กว่าปีก่อน ในคืนวันที่ฝนตก มีรถคันหนึ่งมาจอดที่ท้ายวัดโปรดเกศ และได้มองไปยังอีกอีกฝั่งหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา หลังจากได้รับรู้ถึงความเดือดร้อนของประชาชนฝั่งพระประแดง และสมุทรปราการ ที่เวลาจะเข้ามายังฝั่งพระนคร ต้องนั่งเรือข้ามฝาก ทั้งจักรยานยนต์ และรถยนต์"
แม้กระทั่ง ถ้าจะมากรุงเทพชั้นใน ต้องมาข้ามที่สะพานกรุงเทพเพียงสะพานเดียว แต่ระยะทางก็ช่างไกลเหลือเกิน
หลังจากนั้น จึงมีสะพานที่ทำให้ประชาชนชาวพระประแดงและสมุทรปราการ สามารถเข้าสู่ตัวเมืองกรุงเทพได้อย่างสะดวกสบาย โดยไม่มีค่าบริการใดๆอีกด้วย
สะพานนี้สร้างด้วยทรัพย์สินส่วนตัวของท่าน
ใช่แล้วครับ ท่านอ่านไม่ผิด
สร้างด้วยทรัพย์สินส่วนพระองค์
(ส่วนนี้ขอ Edited เพิ่มนิดนึงครับ
คือ โดยโครงการ สร้างด้วย งบของทางหลวงชนบท แต่แล้วก็มีปัญหาเรื่องงบประมาณ ท่านจึงรับสั่งให้ใช้ ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มาสร้างให้แล้วเสร็จ เมื่อเป็นเช่นนี้ในตอนสร้าง ก็มีผสกนิกรมาร่วมสมทบทุนในการสร้างจนแล้วเสร็จ มิปล่อยให้เดือดร้อนทรัพย์สินส่วนของพระองค์เพียงลำพัง)
ย้อนไปในคืนวันที่ในฝนพรำ ชายที่ดำริคิดสร้างสะพานเพื่อช่วยผ่อนเบาทุกข์ของชาวประชาก็คือ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลฯ นั่นเอง
ดังนั้น คนจึงกล่าวขานสะพานนี้ว่า
"สะพานของพ่อ"
ขอบคุณเนื้อหาจาก FB : Rak Thammarak
"ส ะ พ า น ข อ งพ่อ"
หลายคนคงอาจจะยังไม่รู้ว่า สะพานภูมิพล เป็นสะพานที่เกิดจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มิใช่เพียงเพราะแค่ชื่อพระราชทานเท่านั้น
"เมื่อ 20 กว่าปีก่อน ในคืนวันที่ฝนตก มีรถคันหนึ่งมาจอดที่ท้ายวัดโปรดเกศ และได้มองไปยังอีกอีกฝั่งหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา หลังจากได้รับรู้ถึงความเดือดร้อนของประชาชนฝั่งพระประแดง และสมุทรปราการ ที่เวลาจะเข้ามายังฝั่งพระนคร ต้องนั่งเรือข้ามฝาก ทั้งจักรยานยนต์ และรถยนต์"
แม้กระทั่ง ถ้าจะมากรุงเทพชั้นใน ต้องมาข้ามที่สะพานกรุงเทพเพียงสะพานเดียว แต่ระยะทางก็ช่างไกลเหลือเกิน
หลังจากนั้น จึงมีสะพานที่ทำให้ประชาชนชาวพระประแดงและสมุทรปราการ สามารถเข้าสู่ตัวเมืองกรุงเทพได้อย่างสะดวกสบาย โดยไม่มีค่าบริการใดๆอีกด้วย
ใช่แล้วครับ ท่านอ่านไม่ผิด
(ส่วนนี้ขอ Edited เพิ่มนิดนึงครับ
คือ โดยโครงการ สร้างด้วย งบของทางหลวงชนบท แต่แล้วก็มีปัญหาเรื่องงบประมาณ ท่านจึงรับสั่งให้ใช้ ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มาสร้างให้แล้วเสร็จ เมื่อเป็นเช่นนี้ในตอนสร้าง ก็มีผสกนิกรมาร่วมสมทบทุนในการสร้างจนแล้วเสร็จ มิปล่อยให้เดือดร้อนทรัพย์สินส่วนของพระองค์เพียงลำพัง)
ย้อนไปในคืนวันที่ในฝนพรำ ชายที่ดำริคิดสร้างสะพานเพื่อช่วยผ่อนเบาทุกข์ของชาวประชาก็คือ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลฯ นั่นเอง
ดังนั้น คนจึงกล่าวขานสะพานนี้ว่า
"สะพานของพ่อ"
ขอบคุณเนื้อหาจาก FB : Rak Thammarak