เรียนต่อ LLM อเมริกา ไม่ต้องง้อเอเจนซี่ ก็ได้ด้วยเหรอ
เห็นหลายคนฝันว่าอยากเรียนโทกฎหมายที่อเมริกาแต่สุดท้ายก็เปลี่ยนใจเรียนไปที่อื่นเพราะมหาลัยส่วนใหญ่จะมีไม่เอเจนซี่ช่วยสมัคร ต้องพยายามหาข้อมูลเอง ส่งเอกสารเอง ติดต่อส่งเมล์หามหาลัยเอง
แต่ใครจะรู้ววววว ความจริงแล้วขั้นตอนการสมัครป.โทนิติศาสตร์ในมหาลัยของอเมริกานั้นง่ายยยยยยมาก ส่งเอกสารรอบเดียวจบ! ไม่ต้องเสียค่าเอเจนซี่ด้วยนะเออ
*** กระทู้นี้เกิดขึ้นหลังจากทำการสมัครมาประมาณครึ่งปี อาจมีการหลง ลืมบ้างอะไรบ้าง ขอ อภัย ณ ที่นี้ หากใครมีข้อมูลที่ถูกต้องก็แบ่งปันกันเน้อออ : ) ***
ขั้นแรก เข้าไปที่เวปนี้เลย
http://llm.lsac.org/
ทำการ sign up ลงทะเบียนลงไปค่า
หลังจาก log in แล้ว ในกรณีที่ข้อมูลเสร็จสมบูรณ์แล้วนั้น ถ้าตรง “ My Account Activity ” ขึ้นสีเขียวหมดแปลว่าเอกสารเราพร้อมส่ง จะขึ้นแบบนี้
ขั้นตอนที่ 2 เรามาดูกันว่าเราต้องส่งเอกสารอะไรให้ LSAC บ้าง
1.) Credential Assembly Service เป็นเงิน 135$ (คูณ 35 = 4,725)
- Document Assembly Service
คือ ค่าที่LSAC จะกระจายเอกสารเรา ( ผลภาษาอังกฤษ TOEFL/IELTS , TRANSCRIBE , RECOMMENDATION ไปตามมหาลัยต่างๆ ซึ่งเราสามารถเลือกได้กี่มหาลัยก็ได้ เต็มที่เลยค่าาา
- International Transcript Authentication and Evaluation Service
คือ ค่าแปลงเกรดของประเทศไทยเป็นเกรดอเมริกาเพื่อจะได้เกรดที่เป็นมาตรฐานสากล ซึ่งตัวเราเองไม่รู้ว่าเค้าวัดจากอะไร ตัวเราเองได้ เกรด 3.00 จากนิติธรรมศาสตร์ แปลงเป็นเกรดที่อเมริกาเหลือ 2.6 โอโหวววว แทบร้องไห้ค่ะ เกรดแบบนี้ยูขี้ไก่ไหนจะรับบตรูฟร่ะเนี้ยยยย แต่อย่าได้ท้อ อย่าได้แค่ร์ค่ะ มั่นหน้ามั่นใจ ยื่นๆไปไม่เสียหายไหนๆ ก็จ่ายค่าส่งเอกสารแบบเหมาจ่ายไปแล้วโน๊ะ
วิธีจ่ายเงินคือ Add to Cart แล้วจ่ายผ่านบัตรเครดิตค่ะ
2.) Letters of Recommendation (LOR) ** ขั้นตอนนี้เราค่อยข้างหลงลืม
ก่อนอื่นต้องไปติดต่ออาจารย์ให้อาจารย์ที่คุณได้คะแนนเยอะๆ หรือมีความสนิทสนมกันเป็นคนเขียนให้
บางมหาลัยต้องการจากอาจารย์ 2 คน บางมหาลัยต้องการจาก 3 คน
1. Add recommender : เข้าไปใส่ข้อมูลอาจารย์ให้ครบถ้วน
- จะเป็นจดหมายที่จ่าหน้าซองเฉพาะมหลัยนั้นๆ หรือ ทั่วไปก็ได้ แนะนำให้มีทั่วไป1ใบ ในกรณีเปลี่ยนใจอยากเรียนมหาลัยอื่น จะได้ไม่ต้องเสียเวลาไปรบกวนอาจรย์อีก
- Description (max 30 characters) แปลว่าเราจะใช้จดหมายนี้ของมหาลัยไหนบ้าง หากไม่ได้เฉพาะเจาะจงมหาลัยก็เขียนว่า for all law schools ถ้าจะส่งให้มหาลัยไหนก็เขียนชื่อมหาลัยนั้นไป
- Number of letters from this recommende : เลขของจดหมาย นั้นหมายความว่า สมมติเราให้อาจารย์ฺชื่อ A ส่งถึงมหาลัย ก ก็เป็ยเลข 1 และอาจารย์ A ส่งถึงมหาลัย ข ต้องเป็นเลข2 ถึงแม้จะเป็นอาจารย์คนเดียวกันก็ตาม เพราะว่า เมื่อเอกสารส่งถึง LSAC เราจะเป็นคน Assign letters เองว่า มหาลัยไหนใช้ letters เลขที่เท่าไหร่
- จากนั้น LSAC จะส่งแบบฟอร์มเอกสารให้อาจารย์เซนต์ เมื่ออาจารย์เซนต์เสร็จให้ใส่ไปพร้อม LOR แล้วใส่ซองปิดผนึก ให้อาจารย์เซนต์ปิดผนึก
ใส่ซองรวมกันส่งไปให้ LSAC
แบบฟอร์มที่ต้องให้อาจารย์เซนต์มีลักษณะแบบนี้
3.) Transcript
กรอกข้อมูลมหาลัยที่เราจบปริญญาตรี จากนั้น กดไปที่ “ Transcript Request Form ” นำ รีเควสฟอร์มนั้นไปให้สำนักทะเบียนกรอกข้อมูล พร้อมขอใบเกรด และให้สำนักทะเบียนนำใบเกรด + Form ใส่จดหมายปิดผนึกของมหาลัยจ่าหน้าซองถึง LSAC
“ Law School Admission Council Transcript Request Form
LLM Credential Assembly Service
662 Penn Street, Box 8511
Newtown, PA 18940-8511 USA”
จากนั้นเอาไปส่งที่ไปรษณีเองนะค้า ส่งระหว่างประเทศ ประมาณ 600 บาท
4.) English Proficiency คือ คะแนน TOEFL/IELTS
ก็เข้าไปกรอกวันเดือนปีรอบที่สอบ เมื่อผลคะแนนออกแล้ว ก็ให้สถาบันที่ไปสอบผลภาษาส่งผลภาษาไปที่ LSAC ( ที่อยู่เดียวกันกับ Transcript ) จะส่งไปกี่รอบก็ได้ เพราะว่าตอนเราจะเลือกสมัครมหาลัยเราเป็นคนเลือกว่าจะได้ครั้งไหน
ขั้นตอนที่ 3 เลือกมหาลัยที่ใช่ที่ชอบ
ระหว่างรอเอกสารส่งไปถึง LSAC ก็สามารถมาเลือก มหาลัยได้และสามารถเข้าไปกรอกข้อมูล ขอเอกสารครบไปพลางๆ เข้าไปที่ “ My Law Schools/Applications ” ทำการ search มหาลัย และกด ADD เมื่อกด ADD แล้ว มหาลัยที่ถูกเลือกจะเข้าไปอยู่ใน school list การที่มหาลัยเข้าไปอยู่ใน school list จะทำให้ดูข้อมูลของมหาลัยได้ง่าย # ควรเชคด้วยว่ามหาลัยและสาขาที่เราสนใจเปิดรับสมัคผ่าน LSACมั้ย
- กดไปที่ Application information แถบที่ฟ้า เพื่อเข้าไปเลือกเทอมที่จะสมัคร บางมหาลัยมีเทอม Spring ( เปิดเทอมมกรา ) บางมหาลัยมีแค่เทอม Fall ( เปิดเทอมตุลา)
> กดไปที่ apply and submit online และทำการกรอกข้อมูล
> เมื่อข้อมูลครบและต้องการส่งไปยังมหาลัย ก็ไปกดจ่ายตัง ค่าสมัครของแต่ละมหาลัยอยู่ที่ 30-60$แล้วแต่มหาลัย
** เราไม่จำเป็นต้องส่งเอกสารใดๆอีก เพราะ LSAC จะทำหน้าที่ส่งเอกสารของเราทั้งหมดกระจายไปยังมหาลัยให้เอง
** หรือถ้าคำถามอะไร ส่งเมล์ไปถาม LSAC เลยเค้าตอบเร็วมากๆๆ
** ทุกอย่างมีเขียนอธิบายในเวป LSAC แล้วน้า แต่ตอนที่เราสมัคร เรารู้สึกงงมาก ภาษาอังกฤษไม่แข็งแรงก็งมๆกันไป
สุดท้ายนี้ ตัวเราเองไม่ได้สมัครผ่าน LSAC แม้ว่าจะส่งข้อมูลครบถ้วนทุกอย่างแล้วก็ตาม เพราะว่า มหาลัยและสาขาที่เราาเลือกนั้น ไม่เปิดรับสมัครผ่าน LSAC เราเลยต้องสมัครผ่านมหาลัยโดยตรง
การเรียนโทกฎมายที่อเมริกานั้น ส่วนตัวคิดว่าต่างกับอังกฤษมากประมาณหนึ่งเพราะที่อเมริกาแทบจะไม่มีทำรายงานส่งแแบบอังกฤษ ไม่มีวิทยานิพน การสอบจะเป็นสอบในห้องแบบopen books หรือ ให้เวลาทำข้อสอบ 1-2 วัน แล้วให้นำข้อมูลกลับมาส่งคืน
ในบางวิชาจะมีเพื่อนร่วมห้องเรียนเป็นอเมริกันแท้ๆ ตัวเราเองเรา 1 เทอมเราเรียน4วิชา มีวิชาที่เรียนกับ เมกัน 3 วิชา พวกอเมริกันจะมาจากหลักสูตร JD. ( คล้ายๆกับปริญญาโทภาคบัณฑิตบ้านเรา คือคนจะเรียนกม.ที่เมกาได้ต้องจบตรีสาขาใดสาขาหนึ่งมาก่อน ) ซึ่งเรียนประมาณ2-3ปี แต่ตอนตัดเกรดจะไม่ตัดปนกัน JDตัดเกรดกับ JD LLM ตัดเกรดกับ LLM ถ้าตัดรวมกัน เด็ก LLM ตายแน่นอน ฮ่าาาาาา
และที่สำคัญ จำนวนคนไทยใน 1 มหาลัย น้อยยยยยยยยยยยมากกกก ถ้าเทียบกับฝั่งอังกฤษ คิดว่าไม่น่าเกิน10 คนต่อมหาลัย เพราะมหาลัยที่อเมริกามีเยอะมากกกกกกกกก ลองนึกภาพ รัฐ หนึ่งของอเมริกา ใหญ่กว่าไทยหลายเท่า นักเรียนไทยเลยกระจายตัว ขอดีคือต้องเรียนรู้การพึ่งพาตัวเองอย่างมาก ข้อเสีย คือ ไม่มีคนช่วยเรียน ช่วยติว
* ค่าเทอม เงื่อนไข แล้วแต่มหาลัย เข้าไปดูได้ตามเวปของมหาลัยนั้นๆ เลยย
* หลักสูตรอเมริกา มีทั้ง 1 ปี และ 2 ปีค่ะ
เรียนต่อโทนิติ ( LLM ) อเมริกา ไม่ต้องง้อเอนเจนซี่
เห็นหลายคนฝันว่าอยากเรียนโทกฎหมายที่อเมริกาแต่สุดท้ายก็เปลี่ยนใจเรียนไปที่อื่นเพราะมหาลัยส่วนใหญ่จะมีไม่เอเจนซี่ช่วยสมัคร ต้องพยายามหาข้อมูลเอง ส่งเอกสารเอง ติดต่อส่งเมล์หามหาลัยเอง
แต่ใครจะรู้ววววว ความจริงแล้วขั้นตอนการสมัครป.โทนิติศาสตร์ในมหาลัยของอเมริกานั้นง่ายยยยยยมาก ส่งเอกสารรอบเดียวจบ! ไม่ต้องเสียค่าเอเจนซี่ด้วยนะเออ
*** กระทู้นี้เกิดขึ้นหลังจากทำการสมัครมาประมาณครึ่งปี อาจมีการหลง ลืมบ้างอะไรบ้าง ขอ อภัย ณ ที่นี้ หากใครมีข้อมูลที่ถูกต้องก็แบ่งปันกันเน้อออ : ) ***
ขั้นแรก เข้าไปที่เวปนี้เลย http://llm.lsac.org/
ทำการ sign up ลงทะเบียนลงไปค่า
หลังจาก log in แล้ว ในกรณีที่ข้อมูลเสร็จสมบูรณ์แล้วนั้น ถ้าตรง “ My Account Activity ” ขึ้นสีเขียวหมดแปลว่าเอกสารเราพร้อมส่ง จะขึ้นแบบนี้
ขั้นตอนที่ 2 เรามาดูกันว่าเราต้องส่งเอกสารอะไรให้ LSAC บ้าง
1.) Credential Assembly Service เป็นเงิน 135$ (คูณ 35 = 4,725)
- Document Assembly Service
คือ ค่าที่LSAC จะกระจายเอกสารเรา ( ผลภาษาอังกฤษ TOEFL/IELTS , TRANSCRIBE , RECOMMENDATION ไปตามมหาลัยต่างๆ ซึ่งเราสามารถเลือกได้กี่มหาลัยก็ได้ เต็มที่เลยค่าาา
- International Transcript Authentication and Evaluation Service
คือ ค่าแปลงเกรดของประเทศไทยเป็นเกรดอเมริกาเพื่อจะได้เกรดที่เป็นมาตรฐานสากล ซึ่งตัวเราเองไม่รู้ว่าเค้าวัดจากอะไร ตัวเราเองได้ เกรด 3.00 จากนิติธรรมศาสตร์ แปลงเป็นเกรดที่อเมริกาเหลือ 2.6 โอโหวววว แทบร้องไห้ค่ะ เกรดแบบนี้ยูขี้ไก่ไหนจะรับบตรูฟร่ะเนี้ยยยย แต่อย่าได้ท้อ อย่าได้แค่ร์ค่ะ มั่นหน้ามั่นใจ ยื่นๆไปไม่เสียหายไหนๆ ก็จ่ายค่าส่งเอกสารแบบเหมาจ่ายไปแล้วโน๊ะ
วิธีจ่ายเงินคือ Add to Cart แล้วจ่ายผ่านบัตรเครดิตค่ะ
2.) Letters of Recommendation (LOR) ** ขั้นตอนนี้เราค่อยข้างหลงลืม
ก่อนอื่นต้องไปติดต่ออาจารย์ให้อาจารย์ที่คุณได้คะแนนเยอะๆ หรือมีความสนิทสนมกันเป็นคนเขียนให้
บางมหาลัยต้องการจากอาจารย์ 2 คน บางมหาลัยต้องการจาก 3 คน
1. Add recommender : เข้าไปใส่ข้อมูลอาจารย์ให้ครบถ้วน
- จะเป็นจดหมายที่จ่าหน้าซองเฉพาะมหลัยนั้นๆ หรือ ทั่วไปก็ได้ แนะนำให้มีทั่วไป1ใบ ในกรณีเปลี่ยนใจอยากเรียนมหาลัยอื่น จะได้ไม่ต้องเสียเวลาไปรบกวนอาจรย์อีก
- Description (max 30 characters) แปลว่าเราจะใช้จดหมายนี้ของมหาลัยไหนบ้าง หากไม่ได้เฉพาะเจาะจงมหาลัยก็เขียนว่า for all law schools ถ้าจะส่งให้มหาลัยไหนก็เขียนชื่อมหาลัยนั้นไป
- Number of letters from this recommende : เลขของจดหมาย นั้นหมายความว่า สมมติเราให้อาจารย์ฺชื่อ A ส่งถึงมหาลัย ก ก็เป็ยเลข 1 และอาจารย์ A ส่งถึงมหาลัย ข ต้องเป็นเลข2 ถึงแม้จะเป็นอาจารย์คนเดียวกันก็ตาม เพราะว่า เมื่อเอกสารส่งถึง LSAC เราจะเป็นคน Assign letters เองว่า มหาลัยไหนใช้ letters เลขที่เท่าไหร่
- จากนั้น LSAC จะส่งแบบฟอร์มเอกสารให้อาจารย์เซนต์ เมื่ออาจารย์เซนต์เสร็จให้ใส่ไปพร้อม LOR แล้วใส่ซองปิดผนึก ให้อาจารย์เซนต์ปิดผนึก
ใส่ซองรวมกันส่งไปให้ LSAC
แบบฟอร์มที่ต้องให้อาจารย์เซนต์มีลักษณะแบบนี้
3.) Transcript
กรอกข้อมูลมหาลัยที่เราจบปริญญาตรี จากนั้น กดไปที่ “ Transcript Request Form ” นำ รีเควสฟอร์มนั้นไปให้สำนักทะเบียนกรอกข้อมูล พร้อมขอใบเกรด และให้สำนักทะเบียนนำใบเกรด + Form ใส่จดหมายปิดผนึกของมหาลัยจ่าหน้าซองถึง LSAC
“ Law School Admission Council Transcript Request Form
LLM Credential Assembly Service
662 Penn Street, Box 8511
Newtown, PA 18940-8511 USA”
จากนั้นเอาไปส่งที่ไปรษณีเองนะค้า ส่งระหว่างประเทศ ประมาณ 600 บาท
4.) English Proficiency คือ คะแนน TOEFL/IELTS
ก็เข้าไปกรอกวันเดือนปีรอบที่สอบ เมื่อผลคะแนนออกแล้ว ก็ให้สถาบันที่ไปสอบผลภาษาส่งผลภาษาไปที่ LSAC ( ที่อยู่เดียวกันกับ Transcript ) จะส่งไปกี่รอบก็ได้ เพราะว่าตอนเราจะเลือกสมัครมหาลัยเราเป็นคนเลือกว่าจะได้ครั้งไหน
ขั้นตอนที่ 3 เลือกมหาลัยที่ใช่ที่ชอบ
ระหว่างรอเอกสารส่งไปถึง LSAC ก็สามารถมาเลือก มหาลัยได้และสามารถเข้าไปกรอกข้อมูล ขอเอกสารครบไปพลางๆ เข้าไปที่ “ My Law Schools/Applications ” ทำการ search มหาลัย และกด ADD เมื่อกด ADD แล้ว มหาลัยที่ถูกเลือกจะเข้าไปอยู่ใน school list การที่มหาลัยเข้าไปอยู่ใน school list จะทำให้ดูข้อมูลของมหาลัยได้ง่าย # ควรเชคด้วยว่ามหาลัยและสาขาที่เราสนใจเปิดรับสมัคผ่าน LSACมั้ย
- กดไปที่ Application information แถบที่ฟ้า เพื่อเข้าไปเลือกเทอมที่จะสมัคร บางมหาลัยมีเทอม Spring ( เปิดเทอมมกรา ) บางมหาลัยมีแค่เทอม Fall ( เปิดเทอมตุลา)
> กดไปที่ apply and submit online และทำการกรอกข้อมูล
> เมื่อข้อมูลครบและต้องการส่งไปยังมหาลัย ก็ไปกดจ่ายตัง ค่าสมัครของแต่ละมหาลัยอยู่ที่ 30-60$แล้วแต่มหาลัย
** เราไม่จำเป็นต้องส่งเอกสารใดๆอีก เพราะ LSAC จะทำหน้าที่ส่งเอกสารของเราทั้งหมดกระจายไปยังมหาลัยให้เอง
** หรือถ้าคำถามอะไร ส่งเมล์ไปถาม LSAC เลยเค้าตอบเร็วมากๆๆ
** ทุกอย่างมีเขียนอธิบายในเวป LSAC แล้วน้า แต่ตอนที่เราสมัคร เรารู้สึกงงมาก ภาษาอังกฤษไม่แข็งแรงก็งมๆกันไป
สุดท้ายนี้ ตัวเราเองไม่ได้สมัครผ่าน LSAC แม้ว่าจะส่งข้อมูลครบถ้วนทุกอย่างแล้วก็ตาม เพราะว่า มหาลัยและสาขาที่เราาเลือกนั้น ไม่เปิดรับสมัครผ่าน LSAC เราเลยต้องสมัครผ่านมหาลัยโดยตรง
การเรียนโทกฎมายที่อเมริกานั้น ส่วนตัวคิดว่าต่างกับอังกฤษมากประมาณหนึ่งเพราะที่อเมริกาแทบจะไม่มีทำรายงานส่งแแบบอังกฤษ ไม่มีวิทยานิพน การสอบจะเป็นสอบในห้องแบบopen books หรือ ให้เวลาทำข้อสอบ 1-2 วัน แล้วให้นำข้อมูลกลับมาส่งคืน
ในบางวิชาจะมีเพื่อนร่วมห้องเรียนเป็นอเมริกันแท้ๆ ตัวเราเองเรา 1 เทอมเราเรียน4วิชา มีวิชาที่เรียนกับ เมกัน 3 วิชา พวกอเมริกันจะมาจากหลักสูตร JD. ( คล้ายๆกับปริญญาโทภาคบัณฑิตบ้านเรา คือคนจะเรียนกม.ที่เมกาได้ต้องจบตรีสาขาใดสาขาหนึ่งมาก่อน ) ซึ่งเรียนประมาณ2-3ปี แต่ตอนตัดเกรดจะไม่ตัดปนกัน JDตัดเกรดกับ JD LLM ตัดเกรดกับ LLM ถ้าตัดรวมกัน เด็ก LLM ตายแน่นอน ฮ่าาาาาา
และที่สำคัญ จำนวนคนไทยใน 1 มหาลัย น้อยยยยยยยยยยยมากกกก ถ้าเทียบกับฝั่งอังกฤษ คิดว่าไม่น่าเกิน10 คนต่อมหาลัย เพราะมหาลัยที่อเมริกามีเยอะมากกกกกกกกก ลองนึกภาพ รัฐ หนึ่งของอเมริกา ใหญ่กว่าไทยหลายเท่า นักเรียนไทยเลยกระจายตัว ขอดีคือต้องเรียนรู้การพึ่งพาตัวเองอย่างมาก ข้อเสีย คือ ไม่มีคนช่วยเรียน ช่วยติว
* ค่าเทอม เงื่อนไข แล้วแต่มหาลัย เข้าไปดูได้ตามเวปของมหาลัยนั้นๆ เลยย
* หลักสูตรอเมริกา มีทั้ง 1 ปี และ 2 ปีค่ะ