คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 8
จริงๆแล้ว เอาภาชนะรูปร่างใดๆ ไปรองรับน้ำฝนก็ได้ครับ
จะเป็น หม้อ ไห แก้วน้ำ ถังน้ำ ถังสองร้อยลิตร กรวย กล่องสี่เหลี่ยม
จะก้นกลม ก้นเหลี่ยม ฯลฯ รูปร่างไหนได้ใช้ตวงได้หมดครับ รูปร่างไม่ใช่สิ่งสำคัญ
สำคัญอยู่ที่ เวลาคำนวณหาปริมาณน้ำฝนเป็น mm
ต้องนำปริมาตร ที่กักเก็บได้ หารกับ พื้นที่หน้าตัดที่ใช้รับน้ำ ของภาชนะนั้นๆ
ก็จะได้ปริมาณน้ำฝน ซึ่งจะเท่ากันหมด ไม่ว่าจะใช้ภาชนะไหน
ยิ่งกว้าง ได้ปริมาตรเยอะ แต่ก็ตัวหารเยอะ ยิ่งแคบ ถึงจะได้ปริมาตรน้อย แต่ตัวหารก็น้อยตาม
เช่น ปริมาตรน้ำฝนที่ตวงได้คือ 35 cm3 พื้นที่หน้าตัดรับน้ำ 35 cm2
หารกัน หน่วยตัดกัน ก็จะเหลือ 1 cm หรือ 10 mm คือปริมาณน้ำฝน
แต่ที่วัดมาตรฐานกัน คือเป็นทรงกระบอกตวง
มีสเกลวัดปริมาตรติดอยู่ เห็นปุ๊ป ก็ตอบได้ทันทีว่า ปริมาณน้ำฝนกี่ mm
ไม่ต้องตวงมาคำนวณให้เสียเวลา
จะเป็น หม้อ ไห แก้วน้ำ ถังน้ำ ถังสองร้อยลิตร กรวย กล่องสี่เหลี่ยม
จะก้นกลม ก้นเหลี่ยม ฯลฯ รูปร่างไหนได้ใช้ตวงได้หมดครับ รูปร่างไม่ใช่สิ่งสำคัญ
สำคัญอยู่ที่ เวลาคำนวณหาปริมาณน้ำฝนเป็น mm
ต้องนำปริมาตร ที่กักเก็บได้ หารกับ พื้นที่หน้าตัดที่ใช้รับน้ำ ของภาชนะนั้นๆ
ก็จะได้ปริมาณน้ำฝน ซึ่งจะเท่ากันหมด ไม่ว่าจะใช้ภาชนะไหน
ยิ่งกว้าง ได้ปริมาตรเยอะ แต่ก็ตัวหารเยอะ ยิ่งแคบ ถึงจะได้ปริมาตรน้อย แต่ตัวหารก็น้อยตาม
เช่น ปริมาตรน้ำฝนที่ตวงได้คือ 35 cm3 พื้นที่หน้าตัดรับน้ำ 35 cm2
หารกัน หน่วยตัดกัน ก็จะเหลือ 1 cm หรือ 10 mm คือปริมาณน้ำฝน
แต่ที่วัดมาตรฐานกัน คือเป็นทรงกระบอกตวง
มีสเกลวัดปริมาตรติดอยู่ เห็นปุ๊ป ก็ตอบได้ทันทีว่า ปริมาณน้ำฝนกี่ mm
ไม่ต้องตวงมาคำนวณให้เสียเวลา
แสดงความคิดเห็น
ทำไมปริมานน้ำฝนในสองภาชนะจะมีความลึกเท่ากัน
แต่ไม่เข้าใจว่าภาชนะสองอันจะให้ความสูงของน้ำฝนที่เท่ากันได้อย่างไร เช่น
กะละมัง ที่มีพื้นที่หน้าตัดมากกว่า ขวดน้ำ ตามความรู้สึกของเรา ระดับน้ำในกะละมังน่าจะต่ำกว่าขวดน้ำนะคะ