เห็นมีกระแสโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลมากขึ้นในระยะหลัง ทีนี้เน้นไปที่โรงไฟฟ้าจากบ่อขยะ
-โรงไฟฟ้าที่มาตั้ง หากเป็นเอกชนที่มาใช้แก๊สมีเทน จากบ่อขยะที่มีอยู่แล้ว สำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า จึงถูกต่อต้านจากชุมชน
-ถ้ามองโลกด้านเดียว บ่อขยะจากชุมชน ยังไงมันก็มีอยู่แล้ว หากไม่มีโรงไฟฟ้ามาตั้ง ขยะมันก็จะไม่ถูกกำจัดและได้ใช้ประโยชน์ มันก็จะเป็นบ่อขยะเน่าเหม็นและส่งพิษอยู่อย่างนั้น
-หรือมองอีกด้าน การเผาไหม้ หรือ มลพิษต่างๆจากการผลิตไฟฟ้า เช่น อากาศเสีย น้ำเสีย เสียงดัง ฯลฯ มันมีเหตุทางปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงหรือไม่ และทางฝ่ายโรงไฟฟ้าเองก็ไม่ได้ชี้แจงหรือหาวิธีกำจัดอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิผล
-การก่อตั้งทุกโรงงาน ไม่ว่าจะเป็น โรงงานอาหาร โรงงานเฟอร์นิเจอร์ เหล็ก น้ำมัน ฯลฯ มันก็มีมลพิษต่อชุมชนแตกต่างกันไป แต่ดูเหมือนโรงไฟฟ้า ทำไมจึงถูกเพ่งเล็งเป็นพิเศษ หรือผมไม่มีข้อมูลเพียงพอว่า โรงงานอื่นๆก็ถูกต่อต้านเช่นกัน
-เป็นไปได้ไหม ถ้าจัด โซนนิ่งกลุ่มอุตสาหกรรม ลักษณะนี้ เข้าด้วยกัน เหมือนนิคมอุตสาหกรรม ใหญ่ๆ
-NGO มี Something ใดๆ กับเรื่องนี้หรือไม่
-ถ้าต่อต้าน เป็นไปได้ไหม ต้องต่อต้านให้ครบวงจร ตั้งแต่สัมปทานพื้นที่ทิ้งขยะ ไม่ใช่แค่โรงไฟฟ้าอย่างเดียว
-บางที อาจดูถามแบบโง่ๆ ว่า logic การกำจัดขยะ หรือ การเอาของเหลือใช้ต่างๆมาทำเป็นไฟฟ้า มันก็คือการ reuse หรือ recycle ซึ่งเป็นการหมุนเวียนพลังงานของโลก นำกลับมาใช้ เพื่อไม่ให้ทิ้งอย่างสูญเปล่า
-การต่อต้านจากชุมชน มันมี logic อะไรที่ลึกมากกว่าแค่การต่อต้านเพราะจะเกิดมลพิษในพื้นที่ เข้าใจว่าเหตุผลย่อมมี ไม่ได้เป็นแฟชั่นอย่างแน่นอน
-การจัดการเรื่องราวลักษณะนี้ ถ้ามองแบบตัวกลางหรือฝ่ายรัฐ ควรจะ Manage อย่างไร เพื่อให้เกิดความสมดุล ระหว่างกลุ่มผู้ลงทุนสร้างโรงไฟฟ้า กับ มวลชนในพื้นที่ที่ต่อต้าน และการนำของเหลือใช้มาทำประโยชน์ หรือจะทิ้งให้ถูกสุขลักษณะอย่างไร
-มี Model ของประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆที่เราจะนำมาใช้ได้หรือไม่(มองดูที่ญี่ปุ่นน่าจะจัดการเรื่องนี้ได้ดี)
โรงไฟฟ้าจากบ่อขยะ เหตุผลของการต่อต้านจากประชาคมในพื้นที่
-โรงไฟฟ้าที่มาตั้ง หากเป็นเอกชนที่มาใช้แก๊สมีเทน จากบ่อขยะที่มีอยู่แล้ว สำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า จึงถูกต่อต้านจากชุมชน
-ถ้ามองโลกด้านเดียว บ่อขยะจากชุมชน ยังไงมันก็มีอยู่แล้ว หากไม่มีโรงไฟฟ้ามาตั้ง ขยะมันก็จะไม่ถูกกำจัดและได้ใช้ประโยชน์ มันก็จะเป็นบ่อขยะเน่าเหม็นและส่งพิษอยู่อย่างนั้น
-หรือมองอีกด้าน การเผาไหม้ หรือ มลพิษต่างๆจากการผลิตไฟฟ้า เช่น อากาศเสีย น้ำเสีย เสียงดัง ฯลฯ มันมีเหตุทางปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงหรือไม่ และทางฝ่ายโรงไฟฟ้าเองก็ไม่ได้ชี้แจงหรือหาวิธีกำจัดอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิผล
-การก่อตั้งทุกโรงงาน ไม่ว่าจะเป็น โรงงานอาหาร โรงงานเฟอร์นิเจอร์ เหล็ก น้ำมัน ฯลฯ มันก็มีมลพิษต่อชุมชนแตกต่างกันไป แต่ดูเหมือนโรงไฟฟ้า ทำไมจึงถูกเพ่งเล็งเป็นพิเศษ หรือผมไม่มีข้อมูลเพียงพอว่า โรงงานอื่นๆก็ถูกต่อต้านเช่นกัน
-เป็นไปได้ไหม ถ้าจัด โซนนิ่งกลุ่มอุตสาหกรรม ลักษณะนี้ เข้าด้วยกัน เหมือนนิคมอุตสาหกรรม ใหญ่ๆ
-NGO มี Something ใดๆ กับเรื่องนี้หรือไม่
-ถ้าต่อต้าน เป็นไปได้ไหม ต้องต่อต้านให้ครบวงจร ตั้งแต่สัมปทานพื้นที่ทิ้งขยะ ไม่ใช่แค่โรงไฟฟ้าอย่างเดียว
-บางที อาจดูถามแบบโง่ๆ ว่า logic การกำจัดขยะ หรือ การเอาของเหลือใช้ต่างๆมาทำเป็นไฟฟ้า มันก็คือการ reuse หรือ recycle ซึ่งเป็นการหมุนเวียนพลังงานของโลก นำกลับมาใช้ เพื่อไม่ให้ทิ้งอย่างสูญเปล่า
-การต่อต้านจากชุมชน มันมี logic อะไรที่ลึกมากกว่าแค่การต่อต้านเพราะจะเกิดมลพิษในพื้นที่ เข้าใจว่าเหตุผลย่อมมี ไม่ได้เป็นแฟชั่นอย่างแน่นอน
-การจัดการเรื่องราวลักษณะนี้ ถ้ามองแบบตัวกลางหรือฝ่ายรัฐ ควรจะ Manage อย่างไร เพื่อให้เกิดความสมดุล ระหว่างกลุ่มผู้ลงทุนสร้างโรงไฟฟ้า กับ มวลชนในพื้นที่ที่ต่อต้าน และการนำของเหลือใช้มาทำประโยชน์ หรือจะทิ้งให้ถูกสุขลักษณะอย่างไร
-มี Model ของประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆที่เราจะนำมาใช้ได้หรือไม่(มองดูที่ญี่ปุ่นน่าจะจัดการเรื่องนี้ได้ดี)