มีกระแสส่งเสริมให้เด็กที่กำลังจะคิดศึกษาต่อให้ศึกษาในระดับ ปวช. มากกว่ามัธยมปลาย
แต่ปัญหาคือ เมื่อจบการศึกษาในระดับ ปวช.แล้ว เด็กที่เลือกศึกษาต่อ บางคนเลือกที่จะศึกษาต่อในระดับ ปวส.
แต่บางคนก็อยากจะศึกษาในมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ มีกฏบังคับเลยว่า "ไม่รับเด็ก ปวช."
แต่กับเด็กที่จบมัธยปลายมา สอบไม่ติด หรือแอดไม่ติด กลับเลือกมาศึกษาต่อในระดับ ปวส.ได้
เราว่ามันเป็นอะไรที่ค่อนข้าง ไม่แฟร์ อย่างมากๆ เรารู้สึกแย่ ที่เห็นหลายๆมหาวิทยาลัยมีกฏแบบนี้ แต่ทราบค่ะว่าไม่ใช่ทุกที่
ส่วนใหญ่ที่รับเด็ก ปวช.ก็คือ มหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่ง ค่าเทอมแพงมากกกกกกก เราแค่อยากให้ทางมหาลัยที่ปิดกั้นเด็ก ปวช.
เปิดโอกาสให้เขาบ้าง เด็กที่จบ ปวช. ก็เป็นเยาวชนไทยที่มีการศึกษาเช่นเดียวกับเด็ก มัธยมปลายนะคะ
แต่ก็อาจจะมีเหตุผลที่เขาไม่รับ ซึ่งเราก็ไม่รู้ว่าเพราะอะไร ใครทราบว่าเพราะอะไร รบกวนช่วยให้ข้อมูลของสาเหตุที่แท้จริงด้วยนะคะ
ทำไมถึงส่งเสริมให้เด็กเรียนอาชีวะแต่หลายๆมหาลัยไม่ยอมรับเด็กอาชีวะคะ?
แต่ปัญหาคือ เมื่อจบการศึกษาในระดับ ปวช.แล้ว เด็กที่เลือกศึกษาต่อ บางคนเลือกที่จะศึกษาต่อในระดับ ปวส.
แต่บางคนก็อยากจะศึกษาในมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ มีกฏบังคับเลยว่า "ไม่รับเด็ก ปวช."
แต่กับเด็กที่จบมัธยปลายมา สอบไม่ติด หรือแอดไม่ติด กลับเลือกมาศึกษาต่อในระดับ ปวส.ได้
เราว่ามันเป็นอะไรที่ค่อนข้าง ไม่แฟร์ อย่างมากๆ เรารู้สึกแย่ ที่เห็นหลายๆมหาวิทยาลัยมีกฏแบบนี้ แต่ทราบค่ะว่าไม่ใช่ทุกที่
ส่วนใหญ่ที่รับเด็ก ปวช.ก็คือ มหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่ง ค่าเทอมแพงมากกกกกกก เราแค่อยากให้ทางมหาลัยที่ปิดกั้นเด็ก ปวช.
เปิดโอกาสให้เขาบ้าง เด็กที่จบ ปวช. ก็เป็นเยาวชนไทยที่มีการศึกษาเช่นเดียวกับเด็ก มัธยมปลายนะคะ
แต่ก็อาจจะมีเหตุผลที่เขาไม่รับ ซึ่งเราก็ไม่รู้ว่าเพราะอะไร ใครทราบว่าเพราะอะไร รบกวนช่วยให้ข้อมูลของสาเหตุที่แท้จริงด้วยนะคะ