แนวคิด ที่มา และความสำคัญของโครงงาน
ปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการติดเชื้อHIV เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะหลังจากที่ได้ตรวจสอบได้พบว่าโรคนี้ได้มีการแพร่หลายมากที่สุดในวัยรุ่นเพราะโรคนี้จะติดต่อกันได้ง่ายที่สุดเพราะโรคนี้จะสามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์และใช้เข็มฉีดยาเล่มเดียวกันและอาการนี่ตอนแรกจะไม่ส่งผมอะไรร้ายแรงมากและจากนั้นจะหายไปและอาจจะมีอาการคล้ายเป็นหวัดและอาการจะหายไปและต่อมาโรคนี่จะไปทำลายเม็ดเลือดขาวซีดีสีที่ป้องกันโรคทำให้เม็ดเลือดขาวซีดีสีที่ป้องกันรักษาโรคอ่อนแอ่ลงไปเรื่อยๆละหลังจากที่เม็ดเลือดขาวและจะเข้าสู่ระยะน้ำหนักลด ฝ้าปากขาว ท้องเสียแบบเรื้อรังและระยะสุดท้าย และระยะสุดท้ายคือ เอดส์ ซึ่งเป็นระยะที่เม็ดเลือดขาวซีดีสี่ต่ำมากและหรือมีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสแทรกซ้อนเช่น วัณโรคหรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา
ในเรื่องของเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับ โรคเอดส์ นั้นเป็นความสนใจส่วนตัวที่อยากจะศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ โรคHIV ซึ่งมีเนื้อหา เกี่ยวกับโรคHIV ว่ามันส่งผลยังไงมันมีโทษยังไง มันส่งผลยังไงต่อชีวิตประจำวันของพวกเรา
ดังนั้น ผู้จัดทำจึงได้มีความคิดที่จะนำเอารูปแบบ การนำเสนอ ด้วยโปรแกรม Blogger มาใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง โรค HIV เพื่อศึกษา เผยแพร่ความรู้ดังกล่าวสู่ผู้สนใจต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาและนำเสนอ ด้วย โปรแกรม Power point เรื่อง โรค Hiv
2. เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับ โรค Hiv
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของการนำเสนอ และพัฒนาศักยภาพของสมาชิกในกลุ่มให้มีความชำนาญ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมได้
4. เพื่อเป็นการสร้างบุคลากรที่มีความสามารถในด้านโปรแกรมให้แก่สังคมไทย
จากเนื้อหาที่ได้สืบค้นข้อมูลเรื่อง โรค HIV มีดังต่อไปนี้
เอดส์ คืออะไร
เอดส์ หรือ AIDS (Acquired Immune Deficiency Syndrome) เป็นกลุ่มอาการของโรค ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส์ ซึ่งจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือกขาว ซึ่งเป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค ทำให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ ได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุ้มสมองอักเสบ หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ อาการจะรุนแรง และเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต
โรคเอดส์ (AIDS) คืออะไร (wikipedia.org)
โรคเอดส์ หรือ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Acquired Immune Deficiency Syndrome - AIDS) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเพราะร่างกายได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) ซึ่งจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาว ที่เป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค ทำให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง จึงทำให้ติดเชื้อโรคฉวยโอกาสแทรกซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรคในปอด หรือต่อมน้ำเหลือง เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบางชนิด หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสต่างๆ เหล่านี้ ทำให้อาการจะรุนแรง และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
ปัจจุบันโรคเอดส์มีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตเนื่องจากโรคเอดส์ อย่างน้อย 25 ล้านคน ตั้งแต่ถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) นับเป็นโรคที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งของประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติ ในปี พ.ศ. 2548 ประมาณการว่ามีผู้ติดโรคเอดส์ประมาณ 3.1 ล้านคน(ระหว่าง 2.8 - 3.6 ล้าน) ซึ่ง 570,000 คนของผู้ป่วยโรคเอดส์เป็นเด็ก (UNAIDS, 2005)
อาการเริ่มแรกของเอชไอวีหรือเอดส์ในผู้หญิง
เอชไอวี ย่อมาจาก เชื้อไวรัสเอชไอวี ที่มีหน้าที่ในการก่อให้เกิดโรคเอดส์ และในขั้นตอนต่อมาของมันความรู้เกี่ยวกับอาการของมันคือต้องป้องกันการแพร่กระจายของโรคนี้
จำนวนของผู้หญิงที่ติดเชื้อ เอชไอวี ได้รับการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั่วโลก ตามสถิติขององค์การอนามัยโลก 47% ของผู้ใหญ่ทั่วโลกที่ทุกข์ทรมานจากเอชไอวี / เอดส์เป็นผู้หญิงร้อยละของเยาวชนทุกข์ทรมานจากสภาพนี้ยังได้รับการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถิติเหล่านี้แสดงให้เห็นว่ายังมีการขาดความตระหนักเกี่ยวกับเอชไอวีและโรคเอดส์ ผู้คนนับล้านติดเชื้อในแต่ละปีและจำนวนของผู้หญิงที่เป็นมากกว่าผู้ชาย
วิธีการคือการติดเชื้อเอชไอวี
เชื้อไวรัสเอดส์ (HIV) เป็นไวรัสที่ติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกเป็นหลักโดยของเหลวในร่างกาย ของเหลวเหล่านี้รวมถึง เลือด น้ำอสุจิ ของเหลวในช่องคลอดและเต้านม การส่งผ่านน้ำลายอาจจะไม่ค่อยคุ้น แต่มันสามารถเกิดขึ้นได้จริง ถ้ามีแผลหรือแผลในปากของคนที่ติดเชื้อ และการติดเชื้อนี้แพร่กระจายผ่านทางทวารหนักได้ หากไม่มีการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ทางปากหรือทางทวารหนักระหว่างรักร่วมเพศหรือคู่ขากับเพศตรงข้าม เป็นการส่งผ่านเลือดซึ่งอาจจะเกิดจากการถ่ายเลือดหรือผ่านเข็มติดเชื้อหรือเข็มฉีดยา และการส่งผ่านจากแม่ที่ติดเชื้อไปสู่ลูกในระหว่างตั้งครรภ์ในขณะที่เกิดหรือในระหว่างการเลี้ยงลูกด้วยนม
การติดเชื้อ เอชไอวี ไม่ได้แพร่กระจายหรือติดต่อผ่าน น้ำตา เหงื่อ ไอ หรือ จาม ผ้าขนหนูที่ใช้ร่วมกัน ช้อนส้อม ซาวน่า สระว่ายน้ำ อาบน้ำ ห้องน้ำหรืออ่างน้ำ หรือผ่านการสัมผัสหรือกอด
อาการเริ่มแรกของการติดเชื้อเอชไอวีในผู้หญิง
สัญญาณเริ่มต้นและอาการของเอชไอวีในผู้หญิง ส่วนใหญ่จะคล้ายไข้หวัดใหญ่และรวมถึง
ไข้
ปวดหัว
สูญเสียความกระหาย
คลื่นไส้และอาเจียน
เจ็บคอ
บวมของต่อมน้ำเหลือง
โรคท้องร่วง
อาการเริ่มแรกของ เอชไอวี ในผู้หญิง สามารถระบุได้อย่างง่ายดายโดยการเพิ่มความไวต่อการติดเชื้อเช่น การติดเชื้อยีสต์ในช่องคลอดติดเชื้อเชื้อแบคทีเรีย vaginosis แสบคันและแห้งกร้านในช่องคลอด หรือการติดต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ นอกจากนี้ยังเพิ่มขึ้นเช่นโรคหนองในหนองในเทียม, การติดเชื้อ HPV (Human papillomavirus) ผู้หญิงที่ติดเชื้อจากปัสสาวะ เช่นเดียวกับการมีเพศสัมพันธ์ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนในรอบเดือน มีเลือดออกหนัก มีเลือดออกระหว่างรอบเดือนหรือมีเลือดออกไม่หยุด นอกเหนือจากนี้ ยังมีอาการเล็ก ๆ น้อย ๆ ดังนี้:
กล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรังและอาการปวดข้อ
เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าและความเหนื่อยล้าอย่างต่อเนื่อง
การติดเชื้อต่อเนื่อง
โรคกระดูกเชิงกรานอักเสบ
น้ำหนักลดลง
ไข้บ่อย
เหงื่อออกกลางคืน
แผลที่อวัยวะเพศ
การติดเชื้อยีสต์ในช่องคลอด
ผิวที่ไม่สม่ำเสมอ
มองเห็นภาพซ้อน
สูญเสียความจำระยะสั้น
เชื้อไวรัสตัวอ่อนทำลายระบบภูมิคุ้มกันหรือโรคเอดส์เป็นโรคที่รักษาไม่หาย จะพบว่าไวรัสอาจยังคงอยู่เฉย ๆ ในร่างกายที่ติดเชื้อได้นานเท่าที่ 7-10 ปี หรืออาจเริ่มแสดงอาการติดเชื้อภายในไม่กี่เดือนของการติดเชื้อ นี่คือ สาเหตุหลักขึ้นอยู่กับสุขภาพของผู้ติดเชื้อจะต้านทานและดูแลระบบภูมิคุ้มกันให้ดี เพื่อเพิ่มอายุขัยต่อไป
การรู้สัญญาณเริ่มต้นของการติดเชื้อเอชไอวีจะช่วยในการวินิจฉัยเบื้องต้นและเพิ่มอายุขัย การบำบัดและการรักษาสำหรับการติดเชื้อเอชไอวีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นถ้าตรวจพบในช่วงต้น ผู้หญิงโดยทั่วไปจะละเลยสุขภาพของตนเองและจะพบว่าผู้หญิงส่วนใหญ่ จะมีการตรวจวินิจฉัยในปีต่อๆมา ไม่ได้ตรวจพบตั้งแต่ตอนต้น ก็จะทำให้การดูแลสุขภาพและการรักษามีประสิทธิภาพน้อยลง การรู้อาการเริ่มแรกของเอชไอวีในผู้หญิงนี้ จะช่วยในเรื่องของการป้องกันและการแพร่ระบาดของการติดเชื้อและยังเริ่มต้นการรักษาได้ไว ถ้าหากตรวจพบตั้งแต่ตอนต้นนั่นเอง
วิธีการป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ที่ดีที่สุด คือการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ เช่น
การฉีดยาเสพติดเข้าเส้น การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย หากเราปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเหล่านี้ จะสามารถลดการเกิดอัตราติดเชื้อเหมือนที่ประเทศไทยประสบผลสำเร็จในการให้ใช้ถุงยาง 100 % เนื่องจากยังไม่มีการรักษาหรือวัคซีนที่ป้องกันโรคดังนั้นทุกคนจะต้องเรียนรู้วิธีป้องกันโรค
ใครบ้างที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV
สมัยก่อนผู้ที่ติดเชื้อมักจะเป็นพวกรักร่วมเพศ หรือฉีดยาเสพติดเข้าเส้น ปัจจุบันพบว่าการติดเชื้อHIV พบได้ใน วัยรุ่น คนทำงาน ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์กับหญิงอื่น แม่บ้าน คือสามารถพบได้ทั่วๆไป ดังนั้นทุกคนเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV หากไม่ป้องกันหรือประมาท โดยเฉพาะผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
การป้องกันการติดเชื้อ HIV จากเพศสัมพันธ์
การติดเชื้อ HIV จะสามารถติดต่อทางเยื่อเมือก (mucous membranes)เช่น ปลายอวัยวะเพศชาย ปาก ทวารหนัก ช่องคลอด หากเยื่อเมือกเหล่านี้ได้รับเชื้อ HIV จาก น้ำอสุจิ น้ำหล่อลื่นของทั้งหญิงและชาย เลือด ทำให้เกิดการติดเชื้อได้
วิธีป้องกันที่ได้ผลมากที่สุดแต่ทำยากที่สุดคือการไม่มีเพศสัมพันธ์กับผู้อื่น
ป้องกันตัวเองทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์โดยใช้ถุงยางที่ทำจากยาง latex condom หรือ dental dam หากแพ้ยาง latex ให้ใช้ชนิด polyurethane condoms นอกจากการเลือกใช้ชนิดของถุงยางแล้ว ต้องเรียนรู้วิธีใช้ที่ถูกต้อง ห้ามใช้สารหล่อลื่นที่เป็นไขมันเพราะจะทำให้ถุงยางรั่ว
กิจกรรมอะไรที่เสี่ยงและไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV
การช่วยตัวเอง การกอดรัดเล้าโลม การจูบ พวกนี้มีโอกาสการติดเชื้อต่ำ
การมีเพศสัมพันธ์ทั้งทางทวารและช่องคลอดจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
การมีเพศสัมพันธ์ทางปากก็มีความเสี่ยง ดังนั้นต้องใส่ถุงยางป้องกัน
การป้องกันการติดเชื้อสำหรับผู้ที่ฉีดยาเสพติดเข้าเส้น
เชื้อ HIV สามารถติดต่อผ่านทางเข็มฉีดยาที่ใช้ร่วมกัน เข็มดังกล่าวจะปนเปื้อนเลือด ดังนั้นวิธีป้องกันการติดเชื้อทำได้ดังนี้
หยุดยาเสพติดและเข้ารับการบำบัดเพื่อหยุดยาเสพติด
หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ให้ใช้เข็มใหม่ทุกครั้ง
สำหรับผู้ที่ยังไม่เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เข็มร่วมกัน ก็ให้ล้างเข็มให้สะอาดด้วยน้ำโดยการฉีดล้างกระบอกฉีดยา และแช่เข็มในน้ำยาฆ่าเชื้อ 1 นาที
การป้องกันการติดเชื้อ HIV ในคนท้อง
เด็กที่คลอดจากแม่ที่มีเชื้อ HIV สามารถรับเชื้อจากแม่ขณะตั้งครรภ์ และการคลอด ปัจจุบันหากทราบว่าคนท้องมีเชื้อ HIV สามารถให้ยา AZT ซึ่งสามารถลดอัตราการติดเชื้อลง
การป้องกันการติดเชื้อ HIV หลังสัมผัสโรค
ทางการแพทย์มีประสบการณ์เกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อ HIV หลังสัมผัสโรคโดยศึกษาในเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขที่ถูกเข็มตำ พบว่าหากให้ AZT หลังถูกเข็มตำจะสามารถลดอุบัติการณ์ลงได้ร้อยละ 80 จากความรู้นี้สามารถนำมาใช้กับการสัมผัสโรคHIVโดยทางเพศสัมพันธ์ ก็น่าจะให้ยาป้องกันได้ การป้องกันดีที่สุดคือไม่มีเพศสัมพันธ์การใส่ถุงยาง การมีเพศสัมพันธ์แบบ safer sexual practices หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เสี่ยง สำหรับผู้ที่มีเพศสัมพันธ์โดยที่ไม่ได้ป้องกันไม่ว่าทางทวารหรือทางปกติ oral sex กับผู้ที่ติดเชื้อ HIV หรือกลุ่มเสี่ยงเช่นผู้ที่ติดยาเสพติด รักร่วมเพศ ควรจะได้รับยาป้องกันภายใน 3 วันหลังสัมผัส และหากท่านทราบว่าตัวเองติดเชื้อ HIV และไปร่วมเพศกับคนที่ไม่ได้ติดเชื้อท่านต้องแจ้งให้คู่ขาทราบภายใน 72 ชั่วโมงเพื่อที่คู่ขาจะได้รับยาป้องกันการติดเชื้อ HIV
การบริจาคเลือดผู้ที่ติดเชื้อ HIV ห้ามบริจาคเลือดโดยเด็ดขาด
**เพิ่มเติม**
https://l.facebook.com/l.php?u=https%3A%2F%2Fcdn.fbsbx.com%2Fv%2Ft59.2708-21%2F13709239_153884968371329_134967645_n.doc%2F%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599309-29-31.doc%3Foh%3D673048db943523cefd180d533bd1c091%26oe%3D5798506A%26dl%3D1&h=NAQFgFhc8
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง โรค HIV
ปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการติดเชื้อHIV เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะหลังจากที่ได้ตรวจสอบได้พบว่าโรคนี้ได้มีการแพร่หลายมากที่สุดในวัยรุ่นเพราะโรคนี้จะติดต่อกันได้ง่ายที่สุดเพราะโรคนี้จะสามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์และใช้เข็มฉีดยาเล่มเดียวกันและอาการนี่ตอนแรกจะไม่ส่งผมอะไรร้ายแรงมากและจากนั้นจะหายไปและอาจจะมีอาการคล้ายเป็นหวัดและอาการจะหายไปและต่อมาโรคนี่จะไปทำลายเม็ดเลือดขาวซีดีสีที่ป้องกันโรคทำให้เม็ดเลือดขาวซีดีสีที่ป้องกันรักษาโรคอ่อนแอ่ลงไปเรื่อยๆละหลังจากที่เม็ดเลือดขาวและจะเข้าสู่ระยะน้ำหนักลด ฝ้าปากขาว ท้องเสียแบบเรื้อรังและระยะสุดท้าย และระยะสุดท้ายคือ เอดส์ ซึ่งเป็นระยะที่เม็ดเลือดขาวซีดีสี่ต่ำมากและหรือมีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสแทรกซ้อนเช่น วัณโรคหรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา
ในเรื่องของเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับ โรคเอดส์ นั้นเป็นความสนใจส่วนตัวที่อยากจะศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ โรคHIV ซึ่งมีเนื้อหา เกี่ยวกับโรคHIV ว่ามันส่งผลยังไงมันมีโทษยังไง มันส่งผลยังไงต่อชีวิตประจำวันของพวกเรา
ดังนั้น ผู้จัดทำจึงได้มีความคิดที่จะนำเอารูปแบบ การนำเสนอ ด้วยโปรแกรม Blogger มาใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง โรค HIV เพื่อศึกษา เผยแพร่ความรู้ดังกล่าวสู่ผู้สนใจต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาและนำเสนอ ด้วย โปรแกรม Power point เรื่อง โรค Hiv
2. เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับ โรค Hiv
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของการนำเสนอ และพัฒนาศักยภาพของสมาชิกในกลุ่มให้มีความชำนาญ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมได้
4. เพื่อเป็นการสร้างบุคลากรที่มีความสามารถในด้านโปรแกรมให้แก่สังคมไทย
จากเนื้อหาที่ได้สืบค้นข้อมูลเรื่อง โรค HIV มีดังต่อไปนี้
เอดส์ คืออะไร
เอดส์ หรือ AIDS (Acquired Immune Deficiency Syndrome) เป็นกลุ่มอาการของโรค ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส์ ซึ่งจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือกขาว ซึ่งเป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค ทำให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ ได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุ้มสมองอักเสบ หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ อาการจะรุนแรง และเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต
โรคเอดส์ (AIDS) คืออะไร (wikipedia.org)
โรคเอดส์ หรือ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Acquired Immune Deficiency Syndrome - AIDS) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเพราะร่างกายได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) ซึ่งจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาว ที่เป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค ทำให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง จึงทำให้ติดเชื้อโรคฉวยโอกาสแทรกซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรคในปอด หรือต่อมน้ำเหลือง เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบางชนิด หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสต่างๆ เหล่านี้ ทำให้อาการจะรุนแรง และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
ปัจจุบันโรคเอดส์มีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตเนื่องจากโรคเอดส์ อย่างน้อย 25 ล้านคน ตั้งแต่ถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) นับเป็นโรคที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งของประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติ ในปี พ.ศ. 2548 ประมาณการว่ามีผู้ติดโรคเอดส์ประมาณ 3.1 ล้านคน(ระหว่าง 2.8 - 3.6 ล้าน) ซึ่ง 570,000 คนของผู้ป่วยโรคเอดส์เป็นเด็ก (UNAIDS, 2005)
อาการเริ่มแรกของเอชไอวีหรือเอดส์ในผู้หญิง
เอชไอวี ย่อมาจาก เชื้อไวรัสเอชไอวี ที่มีหน้าที่ในการก่อให้เกิดโรคเอดส์ และในขั้นตอนต่อมาของมันความรู้เกี่ยวกับอาการของมันคือต้องป้องกันการแพร่กระจายของโรคนี้
จำนวนของผู้หญิงที่ติดเชื้อ เอชไอวี ได้รับการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั่วโลก ตามสถิติขององค์การอนามัยโลก 47% ของผู้ใหญ่ทั่วโลกที่ทุกข์ทรมานจากเอชไอวี / เอดส์เป็นผู้หญิงร้อยละของเยาวชนทุกข์ทรมานจากสภาพนี้ยังได้รับการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถิติเหล่านี้แสดงให้เห็นว่ายังมีการขาดความตระหนักเกี่ยวกับเอชไอวีและโรคเอดส์ ผู้คนนับล้านติดเชื้อในแต่ละปีและจำนวนของผู้หญิงที่เป็นมากกว่าผู้ชาย
วิธีการคือการติดเชื้อเอชไอวี
เชื้อไวรัสเอดส์ (HIV) เป็นไวรัสที่ติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกเป็นหลักโดยของเหลวในร่างกาย ของเหลวเหล่านี้รวมถึง เลือด น้ำอสุจิ ของเหลวในช่องคลอดและเต้านม การส่งผ่านน้ำลายอาจจะไม่ค่อยคุ้น แต่มันสามารถเกิดขึ้นได้จริง ถ้ามีแผลหรือแผลในปากของคนที่ติดเชื้อ และการติดเชื้อนี้แพร่กระจายผ่านทางทวารหนักได้ หากไม่มีการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ทางปากหรือทางทวารหนักระหว่างรักร่วมเพศหรือคู่ขากับเพศตรงข้าม เป็นการส่งผ่านเลือดซึ่งอาจจะเกิดจากการถ่ายเลือดหรือผ่านเข็มติดเชื้อหรือเข็มฉีดยา และการส่งผ่านจากแม่ที่ติดเชื้อไปสู่ลูกในระหว่างตั้งครรภ์ในขณะที่เกิดหรือในระหว่างการเลี้ยงลูกด้วยนม
การติดเชื้อ เอชไอวี ไม่ได้แพร่กระจายหรือติดต่อผ่าน น้ำตา เหงื่อ ไอ หรือ จาม ผ้าขนหนูที่ใช้ร่วมกัน ช้อนส้อม ซาวน่า สระว่ายน้ำ อาบน้ำ ห้องน้ำหรืออ่างน้ำ หรือผ่านการสัมผัสหรือกอด
อาการเริ่มแรกของการติดเชื้อเอชไอวีในผู้หญิง
สัญญาณเริ่มต้นและอาการของเอชไอวีในผู้หญิง ส่วนใหญ่จะคล้ายไข้หวัดใหญ่และรวมถึง
ไข้
ปวดหัว
สูญเสียความกระหาย
คลื่นไส้และอาเจียน
เจ็บคอ
บวมของต่อมน้ำเหลือง
โรคท้องร่วง
อาการเริ่มแรกของ เอชไอวี ในผู้หญิง สามารถระบุได้อย่างง่ายดายโดยการเพิ่มความไวต่อการติดเชื้อเช่น การติดเชื้อยีสต์ในช่องคลอดติดเชื้อเชื้อแบคทีเรีย vaginosis แสบคันและแห้งกร้านในช่องคลอด หรือการติดต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ นอกจากนี้ยังเพิ่มขึ้นเช่นโรคหนองในหนองในเทียม, การติดเชื้อ HPV (Human papillomavirus) ผู้หญิงที่ติดเชื้อจากปัสสาวะ เช่นเดียวกับการมีเพศสัมพันธ์ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนในรอบเดือน มีเลือดออกหนัก มีเลือดออกระหว่างรอบเดือนหรือมีเลือดออกไม่หยุด นอกเหนือจากนี้ ยังมีอาการเล็ก ๆ น้อย ๆ ดังนี้:
กล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรังและอาการปวดข้อ
เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าและความเหนื่อยล้าอย่างต่อเนื่อง
การติดเชื้อต่อเนื่อง
โรคกระดูกเชิงกรานอักเสบ
น้ำหนักลดลง
ไข้บ่อย
เหงื่อออกกลางคืน
แผลที่อวัยวะเพศ
การติดเชื้อยีสต์ในช่องคลอด
ผิวที่ไม่สม่ำเสมอ
มองเห็นภาพซ้อน
สูญเสียความจำระยะสั้น
เชื้อไวรัสตัวอ่อนทำลายระบบภูมิคุ้มกันหรือโรคเอดส์เป็นโรคที่รักษาไม่หาย จะพบว่าไวรัสอาจยังคงอยู่เฉย ๆ ในร่างกายที่ติดเชื้อได้นานเท่าที่ 7-10 ปี หรืออาจเริ่มแสดงอาการติดเชื้อภายในไม่กี่เดือนของการติดเชื้อ นี่คือ สาเหตุหลักขึ้นอยู่กับสุขภาพของผู้ติดเชื้อจะต้านทานและดูแลระบบภูมิคุ้มกันให้ดี เพื่อเพิ่มอายุขัยต่อไป
การรู้สัญญาณเริ่มต้นของการติดเชื้อเอชไอวีจะช่วยในการวินิจฉัยเบื้องต้นและเพิ่มอายุขัย การบำบัดและการรักษาสำหรับการติดเชื้อเอชไอวีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นถ้าตรวจพบในช่วงต้น ผู้หญิงโดยทั่วไปจะละเลยสุขภาพของตนเองและจะพบว่าผู้หญิงส่วนใหญ่ จะมีการตรวจวินิจฉัยในปีต่อๆมา ไม่ได้ตรวจพบตั้งแต่ตอนต้น ก็จะทำให้การดูแลสุขภาพและการรักษามีประสิทธิภาพน้อยลง การรู้อาการเริ่มแรกของเอชไอวีในผู้หญิงนี้ จะช่วยในเรื่องของการป้องกันและการแพร่ระบาดของการติดเชื้อและยังเริ่มต้นการรักษาได้ไว ถ้าหากตรวจพบตั้งแต่ตอนต้นนั่นเอง
วิธีการป้องกันการติดเชื้อโรคเอดส์ที่ดีที่สุด คือการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคเอดส์ เช่น
การฉีดยาเสพติดเข้าเส้น การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย หากเราปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเหล่านี้ จะสามารถลดการเกิดอัตราติดเชื้อเหมือนที่ประเทศไทยประสบผลสำเร็จในการให้ใช้ถุงยาง 100 % เนื่องจากยังไม่มีการรักษาหรือวัคซีนที่ป้องกันโรคดังนั้นทุกคนจะต้องเรียนรู้วิธีป้องกันโรค
ใครบ้างที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV
สมัยก่อนผู้ที่ติดเชื้อมักจะเป็นพวกรักร่วมเพศ หรือฉีดยาเสพติดเข้าเส้น ปัจจุบันพบว่าการติดเชื้อHIV พบได้ใน วัยรุ่น คนทำงาน ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์กับหญิงอื่น แม่บ้าน คือสามารถพบได้ทั่วๆไป ดังนั้นทุกคนเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV หากไม่ป้องกันหรือประมาท โดยเฉพาะผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
การป้องกันการติดเชื้อ HIV จากเพศสัมพันธ์
การติดเชื้อ HIV จะสามารถติดต่อทางเยื่อเมือก (mucous membranes)เช่น ปลายอวัยวะเพศชาย ปาก ทวารหนัก ช่องคลอด หากเยื่อเมือกเหล่านี้ได้รับเชื้อ HIV จาก น้ำอสุจิ น้ำหล่อลื่นของทั้งหญิงและชาย เลือด ทำให้เกิดการติดเชื้อได้
วิธีป้องกันที่ได้ผลมากที่สุดแต่ทำยากที่สุดคือการไม่มีเพศสัมพันธ์กับผู้อื่น
ป้องกันตัวเองทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์โดยใช้ถุงยางที่ทำจากยาง latex condom หรือ dental dam หากแพ้ยาง latex ให้ใช้ชนิด polyurethane condoms นอกจากการเลือกใช้ชนิดของถุงยางแล้ว ต้องเรียนรู้วิธีใช้ที่ถูกต้อง ห้ามใช้สารหล่อลื่นที่เป็นไขมันเพราะจะทำให้ถุงยางรั่ว
กิจกรรมอะไรที่เสี่ยงและไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV
การช่วยตัวเอง การกอดรัดเล้าโลม การจูบ พวกนี้มีโอกาสการติดเชื้อต่ำ
การมีเพศสัมพันธ์ทั้งทางทวารและช่องคลอดจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
การมีเพศสัมพันธ์ทางปากก็มีความเสี่ยง ดังนั้นต้องใส่ถุงยางป้องกัน
การป้องกันการติดเชื้อสำหรับผู้ที่ฉีดยาเสพติดเข้าเส้น
เชื้อ HIV สามารถติดต่อผ่านทางเข็มฉีดยาที่ใช้ร่วมกัน เข็มดังกล่าวจะปนเปื้อนเลือด ดังนั้นวิธีป้องกันการติดเชื้อทำได้ดังนี้
หยุดยาเสพติดและเข้ารับการบำบัดเพื่อหยุดยาเสพติด
หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ให้ใช้เข็มใหม่ทุกครั้ง
สำหรับผู้ที่ยังไม่เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เข็มร่วมกัน ก็ให้ล้างเข็มให้สะอาดด้วยน้ำโดยการฉีดล้างกระบอกฉีดยา และแช่เข็มในน้ำยาฆ่าเชื้อ 1 นาที
การป้องกันการติดเชื้อ HIV ในคนท้อง
เด็กที่คลอดจากแม่ที่มีเชื้อ HIV สามารถรับเชื้อจากแม่ขณะตั้งครรภ์ และการคลอด ปัจจุบันหากทราบว่าคนท้องมีเชื้อ HIV สามารถให้ยา AZT ซึ่งสามารถลดอัตราการติดเชื้อลง
การป้องกันการติดเชื้อ HIV หลังสัมผัสโรค
ทางการแพทย์มีประสบการณ์เกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อ HIV หลังสัมผัสโรคโดยศึกษาในเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขที่ถูกเข็มตำ พบว่าหากให้ AZT หลังถูกเข็มตำจะสามารถลดอุบัติการณ์ลงได้ร้อยละ 80 จากความรู้นี้สามารถนำมาใช้กับการสัมผัสโรคHIVโดยทางเพศสัมพันธ์ ก็น่าจะให้ยาป้องกันได้ การป้องกันดีที่สุดคือไม่มีเพศสัมพันธ์การใส่ถุงยาง การมีเพศสัมพันธ์แบบ safer sexual practices หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เสี่ยง สำหรับผู้ที่มีเพศสัมพันธ์โดยที่ไม่ได้ป้องกันไม่ว่าทางทวารหรือทางปกติ oral sex กับผู้ที่ติดเชื้อ HIV หรือกลุ่มเสี่ยงเช่นผู้ที่ติดยาเสพติด รักร่วมเพศ ควรจะได้รับยาป้องกันภายใน 3 วันหลังสัมผัส และหากท่านทราบว่าตัวเองติดเชื้อ HIV และไปร่วมเพศกับคนที่ไม่ได้ติดเชื้อท่านต้องแจ้งให้คู่ขาทราบภายใน 72 ชั่วโมงเพื่อที่คู่ขาจะได้รับยาป้องกันการติดเชื้อ HIV
การบริจาคเลือดผู้ที่ติดเชื้อ HIV ห้ามบริจาคเลือดโดยเด็ดขาด
**เพิ่มเติม**
https://l.facebook.com/l.php?u=https%3A%2F%2Fcdn.fbsbx.com%2Fv%2Ft59.2708-21%2F13709239_153884968371329_134967645_n.doc%2F%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599309-29-31.doc%3Foh%3D673048db943523cefd180d533bd1c091%26oe%3D5798506A%26dl%3D1&h=NAQFgFhc8