กลับมาอีกครั้งกับการพูดถึงเรื่งอด้านที่ไม่โสภาของดินแดนที่เป็นต้นกำเนิดของรถยนต์หลากหลายยี่ห้อ โดยเป้นการยกคำพูดจากแอดมินเพจ แหกกิดมโน มาทั้งหมด
ซึ่งก็ต้องขออภัยที่ทำให้แอดมินเพจนั้นรู้สึกขุ่นเขืองเพราะความผิดพลาดในการคัดลอกข้อมูลผสมกับความคิดเห็นส่วนตัวโดยไม่ได้แยกออกมาให้ชัดเจนจนกลายเป้นการ Plagiarism และทำให้หลายคนคิดว่า เป็นเรืง่อที่มโนขึ้นมา ซ฿่งตอนนั้นทางแอดมินเพจนั้นได้ชี้แจงออกมาแล้วดังนี้
https://www.facebook.com/underthekimono/photos/a.1723808684549541.1073741828.1723788574551552/1736765699920506/?type=3
ส่วนสาเหตุที่ผมอยากเอามันมาเผยแพร่ในนนี้นั้น เนื่งอจากว่าถึงเวลาแล้วที่ด้านไม่โสภาของญ่ปุ่นควรได้รับการถ่ายทอดให้ชาวไทยหลายคนได้รับรู้เสียที เพราะสื่อส่วนใหญ่ของไทยเลือกที่จะนำเสนอแต่ด้านสว่างโดยไม่สนด้านมืดของประเทศนี้กันเลย ทำให้หลายคนเข้าใจตผิดคิดว่านี่คือแดนสวรรค์ที่เดินเล่นหลั่ลล้าได้อย่างสบายใจและสวยงามแบบในอนิเมะหลายๆเรื่อง เราจะได้พูดถึงประเทศนี้กันอย่างมีสติและถูกต้องเสียที และ Pantip คือหนึ่งในเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดในไทย จึงเหมาะที่จะเป็นที่เปิดประเด็นในเรื่งอนี้อย่งามาก
คราวนี้ก็กลับมาเข้าเรื่องกันต่อกับเนื้อหาที่จะตั้งกระทู้กันดฃต่อมาถึงวัฒนธรรมการทำงานของญ่ปุ่นที่หลายคนคงจะคิดว่า เขาคงหัวก้าวหน้าไม่ดักดานแบบไทยหรอก แถมหลับในที่ทำงานก็ไม่โดนว่าด้วย..แน่ใจเหรอครับว่าเป็นแบบนั้น100%
ขอขอบคุณเครดิตจากเพจ แหกกิโมโน ตาม link ข้างล่านี้เลยครับ และขอขอบคุณข้อมูลจากเพจ JapanSalamanderman มา ณ ที่นี้ด้วยครับ และขออนุญาติคัดลอกข้อความราทั้งหมดแบบไม่ตัดทอนใดๆออกไป
https://www.facebook.com/JapanSalamanderman/photos/a.734889016619856.1073741828.734881389953952/924936104281812/?type=3&theater
ห่างหายไปนาน จะบอกว่าไม่ได้หายไปไหนหรอกมันก็จะ

สไตล์ญี่ปุ่นไปหน่อย หายไปจริงๆน่ะแหละ เพราะคิดไม่ออกว่าจะบ่นยังไงให้สะใจดี
ไหนๆก็ทำมาเป็นซีรี่ย์เลยละกัน "เรื่องน่าปวดตับในองค์กรญี่ปุ่น" ไม่ได้วางแผนว่าจะมีกี่ตอน เอาที่พอจะนึกออกไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
พูดถึงสังคมแบบเอเชียนแล้ว ระบบลำดับชั้นความอาวุโสนับเป็นส่วนหนึ่งของบรรทัดฐานของสังคมเลยทีเดียว มันหยั่งรากลึกลงไปในชีวิตประจำวัน รวมถึงการทำงานด้วย ประเทศญี่ปุ่นก็ไม่พ้นเช่นกัน ดีไม่ดีญี่ปุ่นนี่แหละ

อาการหนักสุดแล้ว
ตามอุดมคติ
"ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน"
แบบไทยๆ
"ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร"
แบบญี่ปุ่น
"ค่าของคนอยู่ที่ทำที่นี่มานานเท่าไหร่"
นั่นแหละครับ จะว่าเหมือนพระก็ใช่อยู่ ยิ่งพรรษาเยอะยิ่งต้องเคารพ เพราะถือว่าเป็นรุ่นพี่ ผ่านร้อนผ่านหนาวมาเยอะ ยังไงก็ต้องเชื่อฟังไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการงานได้
เกิดวันดีคืนดีน้องใหม่ไฟแรงคนนึงหาทฤษฎีจับงานที่ทำอยู่ได้ ทำให้เกิดไอเดียอันสุดยอด ตามประเพณีญี่ปุ่นแล้ว "โฮเรงโซ" สำคัญมากครับ มีอะไรให้แจ้งรุ่นพี่หรือเจ้านายก่อน
ปรากฎว่าเจ้านายได้ยินแล้วไม่ชอบใจ เพราะไม่เคยทำมาก่อน จะซักไซ้ไล่เรียงใหญ่เลยครับ เอามาจากไหน ทำไมต้องทำอย่างนั้น แล้วก็ค่อยๆพูดเกลี้ยกล่อมสร้างความหวาดกลัวในใจของรุ่นน้อง จนกระทั่งถอนเรื่องไปเอง
แล้วก็ซ้ำเติมด้วยการให้งานเพิ่ม ไปหาอันนั้นดิ๊ ทำงี้ดิ๊ ตามใจกู คือเหมือนสั่งสอนให้รู้ครับว่าใครเป็นใคร อย่า

หาเรื่องมาให้พิจารณาแบบนี้อีก เสียเวลา ทำตามที่เขาทำตามๆกันมาก็พอแล้วนี่นา
น่าหมั่นไส้

พอแก่แล้ว

ก็ชี้นกเป็นนก ชี้ไม้เป็นไม้ ไม่ฟังใครทั้งนั้น
มีเรื่องฉาวของบริษัทญี่ปุ่นหลายเรื่องครับที่เกิดจากความที่ "เชื่อใจรุ่นพี่" โดยไม่ตรวจสอบด้วยองค์ความรู้ที่แท้จริง ทำให้เกิดความผิดพลาดในการงาน แต่สุดท้ายคนที่รับผิดชอบคือคนที่ปฏิบัติงานหรือลูกน้องนั่นเอง
ถ้าใครเคยดูนายธนาคารฮันซาวะ นาโอกิ ก็คงจะเข้าใจทันที!
หากเจอองค์กรแบบน้ีก็อยู่ที่คุณแล้วล่ะครับ ว่าจะเลือกตามเขาไปวันๆเพื่อเอาตัวรอด หรือสู้เพื่อให้มีที่ยืนในองค์กร ถ้าทำไม่ได้ก็หางานใหม่ไปเลย
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนข้อความีน้คือข้อความที่แอดมินเพจ แหกกิโมโน แสดงความเห็นต่อบทความข้างบนนั้น
"แก่แล้วแก่เลย แก่แล้วลงยาก
คือวัฒนธรรมที่น่าเบื่อประการหนึ่งขององค์กรญี่ปุ่นที่มีความเป็นญี่ปุ่นอยู่สูงมาก
แอดมินเป็นอีกคนหนึ่งที่ทำงานอยู่ในบริษัทญี่ปุ่นที่พยายามจะโกอินเตอร์ พยายามทำให้ตัวเองมีความเป็นอินเตอร์เนชั่นนัล แต่วิธีการสอนงานให้กับพนักงานนั้นช่างเป็นโคลนติดล้อ ช่างมีความล้าหลัง นั่นคือรุ่นพี่ทำอะไรก็ทำตาม ถ้าเจอรุ่นพี่ดีก็คือดี แต่ถ้าเจอรุ่นพี่ทุเรศ คุณก็จะทุเรศ พอเกิดปัญหาขึ้นจะหันไปปรึกษาหาใครก็ไม่ได้ เพราะมันไม่มีใครอยากจะมารับผิดชอบให้เรา นอกจากนี้ ถ้านายสั่งแล้วก็จะต้องทำตาม จะตั้งคำถามก็ทำได้เป็นพิธี แต่ส่วนใหญ่ก็ต้องทำตามเพราะนายสั่ง แถมเวลาตอบก็ต้องตอบว่า かしこまりました (ขะฉิโคมะริมะฉิตะ แปลว่า ช่างหลักแหลมเสียจริงครับนายท่าน) ถึงแม้ว่ามันจะเป็นแผนการที่ช่างป่วยเสียเหลือเกินก็ตาม อารมณ์ว่านายสั่ง เจ้าก็ทำตามไป หน้าที่ของเจ้าก็คือขี้ข้านั่นแหละ และพองานเน่า นายพวกนี้ก็จะรีบตีตัวออกห่าง บอกว่างานนี้เจ้าทำเองไม่ใช่หรือไง กลัวหน้ากากตัวเองหลุดขึ้นมาทันที
น่าปวดตับเหลือเกินครับท่าน
แต่แอดมินไม่ได้หมายถึงทุกองค์กรจะเป็นเช่นนี้ องค์กรญี่ปุ่นดีๆ ที่ก้าวไกลไปแล้วก็มี เพียงแต่ว่าเท่าที่ฟังๆ กันมากับเพื่อนร่วมชะตากรรม ส่วนใหญ่จะเป็นแบบนี้...
#แหกกิโมโน
#อย่าคิดว่าคุณรู้จักญี่ปุ่นดีพอถ้าคุณยังไม่รู้จักญี่ปุ่นอีกด้านหนึ่ง"
american express :
https://www.facebook.com/underthekimono/posts/1725150464415363
"เอาล่ะ ว่าแล้วก็เจอประเด็นแรกมาให้ "แหก" กันแล้ว
ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่าที่ญี่ปุ่นการนอนหลับในเวลางานไม่ใช่เป็นสิ่งที่ยอมรับกันได้ แต่มีคนทำกันเยอะ เพราะอะไร เพราะ

บริหารเวลาและบริหารคนกันไม่เป็น (ประเด็นนี้จะพูดในภายหลังนะฮะ)
สิ่งที่เป็นตลกร้ายที่สุดของประเทศที่ดูทำงานเป็นทีมเวิร์คเก่งและมีความสามัคคีเป็นอย่างดีอย่างญี่ปุ่นก็คือ การแบ่งงานในที่ทำงานทำได้

และเต่า

มาก คือ มีงานห่าอะไรก็โยนๆ ไป เดี๋ยว

ก็ต้องมีคนมาทำเอง ไม่ว่า

จะอยากทำหรือไม่ก็ตาม
ผลก็คือ งานของคนบางคนที่หนัก

อยู่แล้ว ก็หนักขึ้นไม่รู้กี่เท่าต่อกี่เท่า ในขณะที่ไอ้คนว่าง

ยังไงก็ว่าง แอดมินเห็นมากับตาหลายคนแล้ว ว่า

หนีไปนั่งในห้องประชุมนั่งเล่นเกมโทรศัพท์มือถือ ในขณะเพื่อนร่วมงาน

รับโทรศัพท์ลูกค้ามือเป็นระวิง
ไอ้คนยุ่งจริงๆ

ไม่มีเวลาจะงีบหรอกบอกเลย แค่

รับโทรศัพท์ตอบเมลลูกค้าอย่างเดียวก็ล่อไปทั้งวันแล้ว เพราะฉะนั้นแอดมินบอกเลยว่า

ไม่มีจริงๆ หรอก เรื่องการนอนหลับเป็นเรื่องที่ยอมรับได้ในที่ทำงาน แค่ "งีบ" ยังเสี่ยงโดนตัดโบนัสหรือลดผลการประเมินเลย
คือต้องแยกนะ ระหว่างคนญี่ปุ่นที่ยุ่งจริงๆ กับไอ้พวกที่ "พยายามยุ่ง" เนี่ย บางคน

ก็นะ ทำงาน 15 นาที เดินออกไปเบรกสูบบุหรี่ 45 นาที โอ้โห้ กูพึ่งรู้ว่าบริษัทจ้างมาตำแหน่งพนักงานลองบุหรี่ออกใหม่
อย่ามาอ้างงานวิจัยซี้ซั้วที่เอามาจากวิกิพีเดีย แล้วมาสร้างบรรทัดฐานประหลาดๆ ให้กับสังคม แล้วอย่ามา "อวยคม" ญี่ปุ่นให้เกินพอดี เพราะที่นี่คือ #แหก

กิโมโน
ปล. ที่

หมดแรงไม่ใช่ไรหรอก ไอ้สัส ลดๆ งานเลี้ยง-เหล้าตี

ตอนกลางคืนบ้าง แล้วเอาเวลาไปนอนดีกว่ามั้ย"
master card :
https://www.facebook.com/underthekimono/photos/a.1723808684549541.1073741828.1723788574551552/1723808214549588/?type=3&theater
------------------------------------
ความเห็นส่วนตัวจากคนตั้งกระทู้ ซึ่งก็คือผมเอง..อืม ไม่มีดีกว่า ตัวเนื้อหาบอกเองหมดแล้ว
(ญี่ปุ่นไม่ใช่ดนสวรรค์) วัฒนธรรมการทำงานอันแสนจะดำมืดของญี่ปุ่น ที่ไม่ต่างจากไทย
ซึ่งก็ต้องขออภัยที่ทำให้แอดมินเพจนั้นรู้สึกขุ่นเขืองเพราะความผิดพลาดในการคัดลอกข้อมูลผสมกับความคิดเห็นส่วนตัวโดยไม่ได้แยกออกมาให้ชัดเจนจนกลายเป้นการ Plagiarism และทำให้หลายคนคิดว่า เป็นเรืง่อที่มโนขึ้นมา ซ฿่งตอนนั้นทางแอดมินเพจนั้นได้ชี้แจงออกมาแล้วดังนี้
https://www.facebook.com/underthekimono/photos/a.1723808684549541.1073741828.1723788574551552/1736765699920506/?type=3
ส่วนสาเหตุที่ผมอยากเอามันมาเผยแพร่ในนนี้นั้น เนื่งอจากว่าถึงเวลาแล้วที่ด้านไม่โสภาของญ่ปุ่นควรได้รับการถ่ายทอดให้ชาวไทยหลายคนได้รับรู้เสียที เพราะสื่อส่วนใหญ่ของไทยเลือกที่จะนำเสนอแต่ด้านสว่างโดยไม่สนด้านมืดของประเทศนี้กันเลย ทำให้หลายคนเข้าใจตผิดคิดว่านี่คือแดนสวรรค์ที่เดินเล่นหลั่ลล้าได้อย่างสบายใจและสวยงามแบบในอนิเมะหลายๆเรื่อง เราจะได้พูดถึงประเทศนี้กันอย่างมีสติและถูกต้องเสียที และ Pantip คือหนึ่งในเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดในไทย จึงเหมาะที่จะเป็นที่เปิดประเด็นในเรื่งอนี้อย่งามาก
คราวนี้ก็กลับมาเข้าเรื่องกันต่อกับเนื้อหาที่จะตั้งกระทู้กันดฃต่อมาถึงวัฒนธรรมการทำงานของญ่ปุ่นที่หลายคนคงจะคิดว่า เขาคงหัวก้าวหน้าไม่ดักดานแบบไทยหรอก แถมหลับในที่ทำงานก็ไม่โดนว่าด้วย..แน่ใจเหรอครับว่าเป็นแบบนั้น100%
ขอขอบคุณเครดิตจากเพจ แหกกิโมโน ตาม link ข้างล่านี้เลยครับ และขอขอบคุณข้อมูลจากเพจ JapanSalamanderman มา ณ ที่นี้ด้วยครับ และขออนุญาติคัดลอกข้อความราทั้งหมดแบบไม่ตัดทอนใดๆออกไป
https://www.facebook.com/JapanSalamanderman/photos/a.734889016619856.1073741828.734881389953952/924936104281812/?type=3&theater
ห่างหายไปนาน จะบอกว่าไม่ได้หายไปไหนหรอกมันก็จะ
ไหนๆก็ทำมาเป็นซีรี่ย์เลยละกัน "เรื่องน่าปวดตับในองค์กรญี่ปุ่น" ไม่ได้วางแผนว่าจะมีกี่ตอน เอาที่พอจะนึกออกไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
พูดถึงสังคมแบบเอเชียนแล้ว ระบบลำดับชั้นความอาวุโสนับเป็นส่วนหนึ่งของบรรทัดฐานของสังคมเลยทีเดียว มันหยั่งรากลึกลงไปในชีวิตประจำวัน รวมถึงการทำงานด้วย ประเทศญี่ปุ่นก็ไม่พ้นเช่นกัน ดีไม่ดีญี่ปุ่นนี่แหละ
ตามอุดมคติ
"ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน"
แบบไทยๆ
"ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร"
แบบญี่ปุ่น
"ค่าของคนอยู่ที่ทำที่นี่มานานเท่าไหร่"
นั่นแหละครับ จะว่าเหมือนพระก็ใช่อยู่ ยิ่งพรรษาเยอะยิ่งต้องเคารพ เพราะถือว่าเป็นรุ่นพี่ ผ่านร้อนผ่านหนาวมาเยอะ ยังไงก็ต้องเชื่อฟังไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการงานได้
เกิดวันดีคืนดีน้องใหม่ไฟแรงคนนึงหาทฤษฎีจับงานที่ทำอยู่ได้ ทำให้เกิดไอเดียอันสุดยอด ตามประเพณีญี่ปุ่นแล้ว "โฮเรงโซ" สำคัญมากครับ มีอะไรให้แจ้งรุ่นพี่หรือเจ้านายก่อน
ปรากฎว่าเจ้านายได้ยินแล้วไม่ชอบใจ เพราะไม่เคยทำมาก่อน จะซักไซ้ไล่เรียงใหญ่เลยครับ เอามาจากไหน ทำไมต้องทำอย่างนั้น แล้วก็ค่อยๆพูดเกลี้ยกล่อมสร้างความหวาดกลัวในใจของรุ่นน้อง จนกระทั่งถอนเรื่องไปเอง
แล้วก็ซ้ำเติมด้วยการให้งานเพิ่ม ไปหาอันนั้นดิ๊ ทำงี้ดิ๊ ตามใจกู คือเหมือนสั่งสอนให้รู้ครับว่าใครเป็นใคร อย่า
น่าหมั่นไส้
มีเรื่องฉาวของบริษัทญี่ปุ่นหลายเรื่องครับที่เกิดจากความที่ "เชื่อใจรุ่นพี่" โดยไม่ตรวจสอบด้วยองค์ความรู้ที่แท้จริง ทำให้เกิดความผิดพลาดในการงาน แต่สุดท้ายคนที่รับผิดชอบคือคนที่ปฏิบัติงานหรือลูกน้องนั่นเอง
ถ้าใครเคยดูนายธนาคารฮันซาวะ นาโอกิ ก็คงจะเข้าใจทันที!
หากเจอองค์กรแบบน้ีก็อยู่ที่คุณแล้วล่ะครับ ว่าจะเลือกตามเขาไปวันๆเพื่อเอาตัวรอด หรือสู้เพื่อให้มีที่ยืนในองค์กร ถ้าทำไม่ได้ก็หางานใหม่ไปเลย
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนข้อความีน้คือข้อความที่แอดมินเพจ แหกกิโมโน แสดงความเห็นต่อบทความข้างบนนั้น
"แก่แล้วแก่เลย แก่แล้วลงยาก
คือวัฒนธรรมที่น่าเบื่อประการหนึ่งขององค์กรญี่ปุ่นที่มีความเป็นญี่ปุ่นอยู่สูงมาก
แอดมินเป็นอีกคนหนึ่งที่ทำงานอยู่ในบริษัทญี่ปุ่นที่พยายามจะโกอินเตอร์ พยายามทำให้ตัวเองมีความเป็นอินเตอร์เนชั่นนัล แต่วิธีการสอนงานให้กับพนักงานนั้นช่างเป็นโคลนติดล้อ ช่างมีความล้าหลัง นั่นคือรุ่นพี่ทำอะไรก็ทำตาม ถ้าเจอรุ่นพี่ดีก็คือดี แต่ถ้าเจอรุ่นพี่ทุเรศ คุณก็จะทุเรศ พอเกิดปัญหาขึ้นจะหันไปปรึกษาหาใครก็ไม่ได้ เพราะมันไม่มีใครอยากจะมารับผิดชอบให้เรา นอกจากนี้ ถ้านายสั่งแล้วก็จะต้องทำตาม จะตั้งคำถามก็ทำได้เป็นพิธี แต่ส่วนใหญ่ก็ต้องทำตามเพราะนายสั่ง แถมเวลาตอบก็ต้องตอบว่า かしこまりました (ขะฉิโคมะริมะฉิตะ แปลว่า ช่างหลักแหลมเสียจริงครับนายท่าน) ถึงแม้ว่ามันจะเป็นแผนการที่ช่างป่วยเสียเหลือเกินก็ตาม อารมณ์ว่านายสั่ง เจ้าก็ทำตามไป หน้าที่ของเจ้าก็คือขี้ข้านั่นแหละ และพองานเน่า นายพวกนี้ก็จะรีบตีตัวออกห่าง บอกว่างานนี้เจ้าทำเองไม่ใช่หรือไง กลัวหน้ากากตัวเองหลุดขึ้นมาทันที
น่าปวดตับเหลือเกินครับท่าน
แต่แอดมินไม่ได้หมายถึงทุกองค์กรจะเป็นเช่นนี้ องค์กรญี่ปุ่นดีๆ ที่ก้าวไกลไปแล้วก็มี เพียงแต่ว่าเท่าที่ฟังๆ กันมากับเพื่อนร่วมชะตากรรม ส่วนใหญ่จะเป็นแบบนี้...
#แหกกิโมโน
#อย่าคิดว่าคุณรู้จักญี่ปุ่นดีพอถ้าคุณยังไม่รู้จักญี่ปุ่นอีกด้านหนึ่ง"
american express : https://www.facebook.com/underthekimono/posts/1725150464415363
"เอาล่ะ ว่าแล้วก็เจอประเด็นแรกมาให้ "แหก" กันแล้ว
ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่าที่ญี่ปุ่นการนอนหลับในเวลางานไม่ใช่เป็นสิ่งที่ยอมรับกันได้ แต่มีคนทำกันเยอะ เพราะอะไร เพราะ
สิ่งที่เป็นตลกร้ายที่สุดของประเทศที่ดูทำงานเป็นทีมเวิร์คเก่งและมีความสามัคคีเป็นอย่างดีอย่างญี่ปุ่นก็คือ การแบ่งงานในที่ทำงานทำได้
ผลก็คือ งานของคนบางคนที่หนัก
ไอ้คนยุ่งจริงๆ
คือต้องแยกนะ ระหว่างคนญี่ปุ่นที่ยุ่งจริงๆ กับไอ้พวกที่ "พยายามยุ่ง" เนี่ย บางคน
อย่ามาอ้างงานวิจัยซี้ซั้วที่เอามาจากวิกิพีเดีย แล้วมาสร้างบรรทัดฐานประหลาดๆ ให้กับสังคม แล้วอย่ามา "อวยคม" ญี่ปุ่นให้เกินพอดี เพราะที่นี่คือ #แหก
ปล. ที่
master card : https://www.facebook.com/underthekimono/photos/a.1723808684549541.1073741828.1723788574551552/1723808214549588/?type=3&theater
------------------------------------
ความเห็นส่วนตัวจากคนตั้งกระทู้ ซึ่งก็คือผมเอง..อืม ไม่มีดีกว่า ตัวเนื้อหาบอกเองหมดแล้ว