คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
เพื่อกรณี eic เป็น Case Study พอสรุปได้
(๑) ขึ้นเครื่องหมาย xr 10/6/2559 อัตราส่วนและราคาหุ้นใหม่ 6 : 1 @ 1.00 แถม 2 eic : 1 eic-w3 ค่าแปลง 1.00 บาท
(๒) ในวันก่อนวัน xr 9/10/2558 ราคาในกระดาน
เปิด สูงสุด ต่ำสุด ปิด
09/06/2016 0.92 0.93 0.88 0.88
(๓) ณ ราคาปิด 0.88 ตามหลักการ price dulution บนสมมติฐานตรามูลค่าราคา eic-w3 ที่ 0.20 จะเปิดประมาณ
= (0.88*6 + 1.00 - 0.10)/7 = 0.8828
เป็นไปตามหลักการ ราคาเปิดที่ 0.89 บาท (สูงสุดของวัน) สูงกว่าราคาปิด 0.88 เพราะราคาหุ้นใหม่เพิ่มทุนสูงกว่าราคาในกระดาน และแล้วกลับไปสู่พื้นฐานตัวเองเปิดที่ 0.85 ต่ำกว่า 0.88 ราคาปิดวันก่อนหน้านี้ นับตั้งแต่นั้นมา ราคาไม่เคยแตะ 1.00 บาท ที่จ่ายตั้งค์ซื้อหุ้นใหม่เพิ่มทุน ต่ำกว่าราคาเฉลี่ยในวัน xr
ด้วยความปรารถนาดี
(๑) ขึ้นเครื่องหมาย xr 10/6/2559 อัตราส่วนและราคาหุ้นใหม่ 6 : 1 @ 1.00 แถม 2 eic : 1 eic-w3 ค่าแปลง 1.00 บาท
(๒) ในวันก่อนวัน xr 9/10/2558 ราคาในกระดาน
เปิด สูงสุด ต่ำสุด ปิด
09/06/2016 0.92 0.93 0.88 0.88
(๓) ณ ราคาปิด 0.88 ตามหลักการ price dulution บนสมมติฐานตรามูลค่าราคา eic-w3 ที่ 0.20 จะเปิดประมาณ
= (0.88*6 + 1.00 - 0.10)/7 = 0.8828
เป็นไปตามหลักการ ราคาเปิดที่ 0.89 บาท (สูงสุดของวัน) สูงกว่าราคาปิด 0.88 เพราะราคาหุ้นใหม่เพิ่มทุนสูงกว่าราคาในกระดาน และแล้วกลับไปสู่พื้นฐานตัวเองเปิดที่ 0.85 ต่ำกว่า 0.88 ราคาปิดวันก่อนหน้านี้ นับตั้งแต่นั้นมา ราคาไม่เคยแตะ 1.00 บาท ที่จ่ายตั้งค์ซื้อหุ้นใหม่เพิ่มทุน ต่ำกว่าราคาเฉลี่ยในวัน xr
ด้วยความปรารถนาดี
แสดงความคิดเห็น
[ถาม]การ Dilution จากการเพิ่มทุน ในราคาทุนที่สูงกว่าตลาดครับ