Turkey ปิดกั้นประชาชนเข้าใช้งาน WikiLeaks website
หลังจากข้อมูลเอกสารอีเมล์ที่ใช้ติดต่อกันภายในหน่วยรัฐการ/พรรคการเมือง
มากกว่า 300,000 ฉบับเกิดการรั่วไหลออกมาช่วงสัปดาห์รัฐประหารที่ล้มเหลว
หรือกบฎผู้พ่ายแพ้ต่อประธานาธิบดี Recep Tayyip Erdogan รายงานข่าวจาก Reuters
ปฏิบัติการดังกล่าวอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานเฝ้าระวังทางอินเตอร์เน็ตตุรกี
หลังจากที่องค์การ Whistleblower/พรายกระซิบ/จอมแฉ
ได้ตั้งใจปล่อยเอกสารหลายแสนฉบับของ Erdogan ผู้นำพรรค AK Party
The Telecommunications Communications Board ก็ขานรับปฏิบัติการครั้งนี้ด้วย
ตามมาตรการฝ่ายบริหาร ซึ่งเป็นเรื่องปกติของหน่วยงานที่ต้องสะกัดกั้นการเข้าใช้งานบาง Websites
WikiLeaks ได้ Twitter คำแนะนำชาวตุรกีที่พยายามเข้า website แห่งนี้
ให้ใช้ proxy อื่นหรือ IPs ของ Wikileaks หรือที่
https://141.105.65.113/akp-emails/#Turkey
ที่ยืนยันว่าปลอดภัยจากการสอดแนมของฝ่ายรัฐบาล
WikiLeaks พยายามที่จะเผยแพร่อีเมล์ 294,548 ฉบับที่มีจำนวน 762 Boxs เรียงตาม A-I ในวันอังคารที่ผ่านมา
ขณะที่มีหลายคนพยายามโจมตี Website WikiiLeahs ให้ล่มลงหรือทำงานได้ช้าลงจาก Cyberattack
ของเมืองไทยก็เคยทำกันด้วยการนัดวันเวลาช่วยกันเข้าโจมตี Website เป้าหมายแล้วกด F5 รัว ๆ
สักพัก Server ก็จะเอ๋อ ตอบรับไม่ทัน สักพักก็เดี้ยง นอกเหนือจากการโจมตีแบบอื่น ๆ
วิธีการนี้ใช้งานได้กับ Website หน่วยราชการที่รองรับคนเข้างานพร้อมกันไม่เกินหลักหมื่นคน
แต่ถ้าของพวกยักษ์ใหญ่ต้องยิงโจมตี Website ด้วย Packages ต่าง ๆ เช่น DDoS สถิติสูงสุดปีนี้ 500GB
หรือพยายามส่ง Files ขนาดใหญ่ไปถล่ม Website
วิธีการแบบนี้มักจะใช้ได้กับ Administrator ผู้ดูแล Website ระดับมืออาภัพไม่ใช่ระดับมืออาชีพ
อีกแห่งหนึ่งของเมืองไทยเป็นหน่วยงานใน
มหาวิทยาลัยรัฐมีสาขาที่ศาลายา
ประกาศรับสมัครนักเรียนสอบเข้าผ่านทางหน้า Websites ย่อยของมหาวิทยาลัย
พอเด็กนักเรียนกดส่งข้อมูลก็ไม่ผ่าน มีหน้าจอแจ้งว่าขนาดภาพที่ส่งใหญ่เกินไปให้กลับไปแก้ไข
เป็นเช่นนี้หลายครั้งมาก จนพ่อของเด็กนักเรียนมาตรวจสอบทุกอย่างถูกต้องตามเงื่อนไขหมดแล้ว
เลยยอมอดตาหลับขับตานอนทดลองส่งหลังเที่ยงคืนราว ๆ ตีสองก็ผ่านทันที
แกรู้เรื่องพวกนี้ในระดับหนึ่งจึงเขียนอีเมล์ไปด่าคนดูแลระบบเรื่องนี้
ด่าแรงพอสมควรว่า Server กาก Bandwidth กาก Admins กาก
จึงใช้วิธีการให้เด็กนักเรียนแก้ไขภาพแล้ว upload ใหม่อยู่เรื่อย ๆ
เป็นการทำลายโอกาสและความมั่นใจเด็กนักเรียน ถือว่า Up ปรีย์มาก (พุทธทาสแปลว่า ไม่ดีไม่งาม)
เพราะเด็กนักเรียนบ้านนอกที่ห่างไกลและด้อยโอกาศยิ่งรนและยิ่งเครียดหนัก
ผลคือ ทางผู้ดูแลระบบเรื่องนี้ยอมรับความผิด/ความกากของระบบมหาวิทยาลัย (มีอีเมล์โต้ตอบกัน)
แล้วขอโทษเรื่องนี้ กับขอคำแนะนำไว้ใช้แก้ปัญหาในโอกาศต่อไป
ก็ได้รับคำแนะนำว่าให้เช่าใช้ชั่วคราวพวกระบบเครือข่าย/Server
แล้วแบ่งนักเรียนออกเป็นเขตจังหวัด/อำเภอทะยอยส่งข้อมูลในวัน/เวลาที่กำหนด
โดยดูจากฐานข้อมูลที่สมัครในปีนี้แล้วแบ่งเป็น batch ๆ ค่อย ๆ ส่งข้อมูล
ปัญหาคอขวดกับรายการหลอก/แหกตาเด็กนักเรียนจะได้ไม่เกิดขึ้น
WikiLeaks ยังได้เอกสารที่มาจากหน่วยรัฐการตุรกี/หน่วยงานต่าง ๆ
ช่วงหลังการก่อการกบฏที่รอการตรวจสอบและยืนยันแหล่งข่าวที่ชัดเจนแล้ว
เรื่องราวเบื้องหลังการกบฎ หรือการเคลื่อนไหวของพรรคการเมือง หรือของรัฐ
ที่ whistleblowing site ยังมีทั้งของฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านรัฐบาล
เพื่อเดินหน้าค้นหาความจริง/สัจจธรรมต่อไป
แหล่งปล่อยเอกสารตุรกีหลักที่หลุดออกมาก็คือที่
http://akparti.org.tr
Domain หลักของพรรคการเมืองที่หนุนหลังผู้นำประเทศ Erdogan
มีเอกสารหลุดที่ครอบคลุมตั้งแต่ ปี 2010 จนถึง 6 กรกฎาคม 2016
หรือเวลาหนึ่งสัปดาห์ก่อนการก่อการกบฏกับรัฐบาลชุดนี้
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/unyJDB
เรื่องเดิม
http://ppantip.com/topic/35395744 Cyberpower ล้มรัฐประหารตุรกี
http://ppantip.com/topic/35392288 ผู้บัญชาการฐานทัพอากาศตุรกี Incirlik ถูกจับแล้วข้อหาร่วมมือกับกบฏ
http://ppantip.com/topic/35391131 ตุรกีกล่าวหาสหรัฐหนุนหลังพวกกบฎ
http://ppantip.com/topic/35388336 ขบถในตุรกีถูกจับกุม 2,839 คน ตาย 265 คน บาดเจ็บ 1,440 คน
เรื่องเล่าไร้สาระ
ประเทศที่ทันสมัยแบบพัฒนาแต่ด้อยพัฒนา
งานหลวงกับงานราษฏร์กับงานส่วนตัว
มักจะปะปนกันจนสับสนมั่วกันไปหมด
ความลับมักไม่เป็นความลับ/ลับไม่จริง
การประชุมลับถ้าไม่บล็อคสัญญาณโทรศัพท์มือถือในห้องประชุม
อาจจะมีมือเลวแอบเปิดเครื่องไว้แล้วโทรออกไปเบอร์เป้าหมาย
ให้รับฟังข้อความในห้องประชุมได้แบบง่าย ๆ
หรือพวกปากช่างพูด ใครซักใครถามก็ตอบเรื่องในที่ประชุม
หรือคนที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องยังอยู่ในห้องประชุม
เช่น ช่างไฟ ช่างเสียง แม่บ้าน เลยได้ยินกันถนัดชัดเจน
หรือคนขับรถยนต์/ภริยา/พวกประจบสอพลอพวกกินเหล้า/เที่ยวกับเจ้านาย
ก็มักจะได้ยินอะไรดี ๆ เลว ๆ มากมายจากปากเจ้านาย
เลยมักจะเก็บไว้เป็นข้อมูลแบบเล่าสู่กันฟัง/อย่าบอกใครน่ะ
ขนาดว่าที่ประธานาธิบดีสตรีสหรัฐที่รอเลือกตั้งปีนี้
ยังมีปัญหาที่รอการพิจารณาสอบสวนจากทางการ
เรื่องการใช้อีเมล์ส่วนตัวผ่านพวก Free email
ในการติดต่องานหลวงงานราษฏร์งานส่วนตัวในบางครั้ง
แทนการใช้งานอีเมล์ของรัฐที่เข้ารหัสรักษาความปลอดภัย
เพราะหน่วยงานความมั่นคงกลัวชั้นความลับรั่วไหล
ตุรกีปิดกั้นการเข้า WikiLeaks เพราะเอกสารรัฐการรั่วกว่า 300,000 ฉบับ
หลังจากข้อมูลเอกสารอีเมล์ที่ใช้ติดต่อกันภายในหน่วยรัฐการ/พรรคการเมือง
มากกว่า 300,000 ฉบับเกิดการรั่วไหลออกมาช่วงสัปดาห์รัฐประหารที่ล้มเหลว
หรือกบฎผู้พ่ายแพ้ต่อประธานาธิบดี Recep Tayyip Erdogan รายงานข่าวจาก Reuters
ปฏิบัติการดังกล่าวอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานเฝ้าระวังทางอินเตอร์เน็ตตุรกี
หลังจากที่องค์การ Whistleblower/พรายกระซิบ/จอมแฉ
ได้ตั้งใจปล่อยเอกสารหลายแสนฉบับของ Erdogan ผู้นำพรรค AK Party
The Telecommunications Communications Board ก็ขานรับปฏิบัติการครั้งนี้ด้วย
ตามมาตรการฝ่ายบริหาร ซึ่งเป็นเรื่องปกติของหน่วยงานที่ต้องสะกัดกั้นการเข้าใช้งานบาง Websites
WikiLeaks ได้ Twitter คำแนะนำชาวตุรกีที่พยายามเข้า website แห่งนี้
ให้ใช้ proxy อื่นหรือ IPs ของ Wikileaks หรือที่
https://141.105.65.113/akp-emails/#Turkey
ที่ยืนยันว่าปลอดภัยจากการสอดแนมของฝ่ายรัฐบาล
WikiLeaks พยายามที่จะเผยแพร่อีเมล์ 294,548 ฉบับที่มีจำนวน 762 Boxs เรียงตาม A-I ในวันอังคารที่ผ่านมา
ขณะที่มีหลายคนพยายามโจมตี Website WikiiLeahs ให้ล่มลงหรือทำงานได้ช้าลงจาก Cyberattack
ของเมืองไทยก็เคยทำกันด้วยการนัดวันเวลาช่วยกันเข้าโจมตี Website เป้าหมายแล้วกด F5 รัว ๆ
สักพัก Server ก็จะเอ๋อ ตอบรับไม่ทัน สักพักก็เดี้ยง นอกเหนือจากการโจมตีแบบอื่น ๆ
วิธีการนี้ใช้งานได้กับ Website หน่วยราชการที่รองรับคนเข้างานพร้อมกันไม่เกินหลักหมื่นคน
แต่ถ้าของพวกยักษ์ใหญ่ต้องยิงโจมตี Website ด้วย Packages ต่าง ๆ เช่น DDoS สถิติสูงสุดปีนี้ 500GB
หรือพยายามส่ง Files ขนาดใหญ่ไปถล่ม Website
วิธีการแบบนี้มักจะใช้ได้กับ Administrator ผู้ดูแล Website ระดับมืออาภัพไม่ใช่ระดับมืออาชีพ
ที่มา http://goo.gl/X9KObD
อีกแห่งหนึ่งของเมืองไทยเป็นหน่วยงานในมหาวิทยาลัยรัฐมีสาขาที่ศาลายา
ประกาศรับสมัครนักเรียนสอบเข้าผ่านทางหน้า Websites ย่อยของมหาวิทยาลัย
พอเด็กนักเรียนกดส่งข้อมูลก็ไม่ผ่าน มีหน้าจอแจ้งว่าขนาดภาพที่ส่งใหญ่เกินไปให้กลับไปแก้ไข
เป็นเช่นนี้หลายครั้งมาก จนพ่อของเด็กนักเรียนมาตรวจสอบทุกอย่างถูกต้องตามเงื่อนไขหมดแล้ว
เลยยอมอดตาหลับขับตานอนทดลองส่งหลังเที่ยงคืนราว ๆ ตีสองก็ผ่านทันที
แกรู้เรื่องพวกนี้ในระดับหนึ่งจึงเขียนอีเมล์ไปด่าคนดูแลระบบเรื่องนี้
ด่าแรงพอสมควรว่า Server กาก Bandwidth กาก Admins กาก
จึงใช้วิธีการให้เด็กนักเรียนแก้ไขภาพแล้ว upload ใหม่อยู่เรื่อย ๆ
เป็นการทำลายโอกาสและความมั่นใจเด็กนักเรียน ถือว่า Up ปรีย์มาก (พุทธทาสแปลว่า ไม่ดีไม่งาม)
เพราะเด็กนักเรียนบ้านนอกที่ห่างไกลและด้อยโอกาศยิ่งรนและยิ่งเครียดหนัก
ผลคือ ทางผู้ดูแลระบบเรื่องนี้ยอมรับความผิด/ความกากของระบบมหาวิทยาลัย (มีอีเมล์โต้ตอบกัน)
แล้วขอโทษเรื่องนี้ กับขอคำแนะนำไว้ใช้แก้ปัญหาในโอกาศต่อไป
ก็ได้รับคำแนะนำว่าให้เช่าใช้ชั่วคราวพวกระบบเครือข่าย/Server
แล้วแบ่งนักเรียนออกเป็นเขตจังหวัด/อำเภอทะยอยส่งข้อมูลในวัน/เวลาที่กำหนด
โดยดูจากฐานข้อมูลที่สมัครในปีนี้แล้วแบ่งเป็น batch ๆ ค่อย ๆ ส่งข้อมูล
ปัญหาคอขวดกับรายการหลอก/แหกตาเด็กนักเรียนจะได้ไม่เกิดขึ้น
WikiLeaks ยังได้เอกสารที่มาจากหน่วยรัฐการตุรกี/หน่วยงานต่าง ๆ
ช่วงหลังการก่อการกบฏที่รอการตรวจสอบและยืนยันแหล่งข่าวที่ชัดเจนแล้ว
เรื่องราวเบื้องหลังการกบฎ หรือการเคลื่อนไหวของพรรคการเมือง หรือของรัฐ
ที่ whistleblowing site ยังมีทั้งของฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านรัฐบาล
เพื่อเดินหน้าค้นหาความจริง/สัจจธรรมต่อไป
แหล่งปล่อยเอกสารตุรกีหลักที่หลุดออกมาก็คือที่ http://akparti.org.tr
Domain หลักของพรรคการเมืองที่หนุนหลังผู้นำประเทศ Erdogan
มีเอกสารหลุดที่ครอบคลุมตั้งแต่ ปี 2010 จนถึง 6 กรกฎาคม 2016
หรือเวลาหนึ่งสัปดาห์ก่อนการก่อการกบฏกับรัฐบาลชุดนี้
เรียบเรียง/ที่มา https://goo.gl/unyJDB
เรื่องเดิม
http://ppantip.com/topic/35395744 Cyberpower ล้มรัฐประหารตุรกี
http://ppantip.com/topic/35392288 ผู้บัญชาการฐานทัพอากาศตุรกี Incirlik ถูกจับแล้วข้อหาร่วมมือกับกบฏ
http://ppantip.com/topic/35391131 ตุรกีกล่าวหาสหรัฐหนุนหลังพวกกบฎ
http://ppantip.com/topic/35388336 ขบถในตุรกีถูกจับกุม 2,839 คน ตาย 265 คน บาดเจ็บ 1,440 คน
เรื่องเล่าไร้สาระ
ประเทศที่ทันสมัยแบบพัฒนาแต่ด้อยพัฒนา
งานหลวงกับงานราษฏร์กับงานส่วนตัว
มักจะปะปนกันจนสับสนมั่วกันไปหมด
ความลับมักไม่เป็นความลับ/ลับไม่จริง
การประชุมลับถ้าไม่บล็อคสัญญาณโทรศัพท์มือถือในห้องประชุม
อาจจะมีมือเลวแอบเปิดเครื่องไว้แล้วโทรออกไปเบอร์เป้าหมาย
ให้รับฟังข้อความในห้องประชุมได้แบบง่าย ๆ
หรือพวกปากช่างพูด ใครซักใครถามก็ตอบเรื่องในที่ประชุม
หรือคนที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องยังอยู่ในห้องประชุม
เช่น ช่างไฟ ช่างเสียง แม่บ้าน เลยได้ยินกันถนัดชัดเจน
หรือคนขับรถยนต์/ภริยา/พวกประจบสอพลอพวกกินเหล้า/เที่ยวกับเจ้านาย
ก็มักจะได้ยินอะไรดี ๆ เลว ๆ มากมายจากปากเจ้านาย
เลยมักจะเก็บไว้เป็นข้อมูลแบบเล่าสู่กันฟัง/อย่าบอกใครน่ะ
ขนาดว่าที่ประธานาธิบดีสตรีสหรัฐที่รอเลือกตั้งปีนี้
ยังมีปัญหาที่รอการพิจารณาสอบสวนจากทางการ
เรื่องการใช้อีเมล์ส่วนตัวผ่านพวก Free email
ในการติดต่องานหลวงงานราษฏร์งานส่วนตัวในบางครั้ง
แทนการใช้งานอีเมล์ของรัฐที่เข้ารหัสรักษาความปลอดภัย
เพราะหน่วยงานความมั่นคงกลัวชั้นความลับรั่วไหล