สำหรับรายการและอัตราค่าบริการทางทันตกรรมใหม่ที่ให้เบิก เช่นถอนฟัน
เพิ่มเป็น 200 บาทต่อซี่ จากเดิม 170 บาท
ผ่าตัดฟันคุดหรือฟันฝังโดยกรอกระดูกและฟัน
เพิ่มเป็น 1,000 บาทต่อซี่ จากเดิม 600 บาท
ผ่าตัดและอุดปลายราก (retrograde)
ฟันหลัง 1,480 บาทต่อซี่ จากเดิม 860 บาท
อุดฟันชั่วคราว
240 บาทต่อซี่ จากเดิม 200 บาท
ขูดหินน้ำลายทั้งขากรรไกร (บนหรือล่าง) 140 บาทต่อครึ่งปาก
จากเดิมเบิกไม่ได้
เพดานเทียมพร้อมฟันปลอมบางส่วนถอดได้สำหรับผู้ใหญ่ Adult definitive obturator with upper Temporary Plate 6,210 บาทต่อชิ้น
จากเดิมเบิกไม่ได้
เพดานเทียมพร้อมฟันปลอมถอดได้ทั้งปากสำหรับผู้ใหญ่ Adult definitive obturator with upper Temporary Plate 4,850 บาทต่อชิ้น
จากเดิมเบิกไม่ได้
“กรมบัญชีกลางได้ปรับปรุงอัตราค่าบริการสาธารณสุขใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้ปรับปรุงค่าบริการและเพิ่มรายการเกี่ยวกับทันตกรรม
ฟันเทียมถอดได้และอุปกรณ์ ให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นรายการที่มีการใช้บริการจำนวนมาก
และมีความจำเป็นในการรักษา ซึ่งการปรับปรุงดังกล่าวจะใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 410 ล้านบาท จากในปีงบประมาณ 2558
ใช้งบประมาณใน
ด้านทันตกรรมเป็นเงิน 1,170 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1.76% ของค่ารักษาพยาบาลทั้งหมด”
นายมนัส แจ่มเวหา อธิบดีกรมบัญชีกลาง กล่าวไว้ชอบแล้ว
กรมบัญชีกลางควัก 410 ล้านบาท................เพิ่มค่าทำฟันข้าราชการ มีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2559
ผ่าตัดฟันคุดหรือฟันฝังโดยกรอกระดูกและฟัน เพิ่มเป็น 1,000 บาทต่อซี่ จากเดิม 600 บาท
ผ่าตัดและอุดปลายราก (retrograde) ฟันหลัง 1,480 บาทต่อซี่ จากเดิม 860 บาท
อุดฟันชั่วคราว 240 บาทต่อซี่ จากเดิม 200 บาท
ขูดหินน้ำลายทั้งขากรรไกร (บนหรือล่าง) 140 บาทต่อครึ่งปาก จากเดิมเบิกไม่ได้
เพดานเทียมพร้อมฟันปลอมบางส่วนถอดได้สำหรับผู้ใหญ่ Adult definitive obturator with upper Temporary Plate 6,210 บาทต่อชิ้น จากเดิมเบิกไม่ได้
เพดานเทียมพร้อมฟันปลอมถอดได้ทั้งปากสำหรับผู้ใหญ่ Adult definitive obturator with upper Temporary Plate 4,850 บาทต่อชิ้น จากเดิมเบิกไม่ได้
“กรมบัญชีกลางได้ปรับปรุงอัตราค่าบริการสาธารณสุขใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้ปรับปรุงค่าบริการและเพิ่มรายการเกี่ยวกับทันตกรรม
ฟันเทียมถอดได้และอุปกรณ์ ให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นรายการที่มีการใช้บริการจำนวนมาก
และมีความจำเป็นในการรักษา ซึ่งการปรับปรุงดังกล่าวจะใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 410 ล้านบาท จากในปีงบประมาณ 2558
ใช้งบประมาณในด้านทันตกรรมเป็นเงิน 1,170 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1.76% ของค่ารักษาพยาบาลทั้งหมด”
นายมนัส แจ่มเวหา อธิบดีกรมบัญชีกลาง กล่าวไว้ชอบแล้ว