คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ทุก วิทยาลัย มหาวิทยาลัย ดีหมดขึ้นอยู่กับผู้เรียนจะมีความขยัน เยอะ แค่ไหนจะเก็บเกี่ยวเอาความรู้มาได้ เยอะ แค่ไหน
ไม่เลือกงาน ไม่ตกงาน ถ้า เก่ง จริง และ มี ความสามารถ จริง
เงินเดือน ขึ้นอยู่กับ วุฒิ ตำแหน่ง ประสบการณ์ความสามารถของ แต่ละ บุคคล
แต่ละ คณะ สาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน
น้อง ต้องหาตัวเองให้พบ ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็น อย่างไร เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไรแล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียน
บางคนคิดว่า ถนัด พอมาเรียนจริง ๆ เรียน ไม่ไหว ไม่ได้ ทุก ปี ทุก มหาวิทยาลัย มี ย้าย คณะ สาขา ภาควิชา
ภาษา ใช้ในการเรียน ต่อ และ การทำงาน
ถ้า ถนัด แพทย์ คณะแพทยศาสตร์
ถ้า ถนัด โปรแกรมเมอร์ แพทย์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ถ้า ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
ถ้า ถนัด ออกแบบ พัฒนา เกม สาขา ภาควิชา เกม สาขา ภาควิชา เกม ก็มี เรียน เขียนโปรแกรม
ไม่ว่า จะเขียนโปรแกรม เกม ต้องมี ออกแบบ Design User Interface UI
เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ E ด้วยถึงจะดี
คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย
เขียนโปรแกรม อ่านให้เข้าใจ ปิดหนังสือ เว็บไซต์ ลองตั้งโจทย์ ขึ้น มา เขียน ตามความเข้าใจของ เรา อย่า เขียน ตามหนังสือ เว็บไซต์ เพราะ หนังสือ เว็บไซต์ ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้า เขียนโปรแกรม ตาม หนังสือ เว็บไซต์ แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ต้อง แก้ไข Edit โค้ด Code เป็น โดย ไม่พึ่ง คนอื่น ต้อง ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง เป็น ได้ เพราะ ไม่มีใคร มานั่งชี้แนะ ได้ตลอดเวลา ก็ เหมาะ ที่จะเรียน สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชาหนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชาเน้นคนละด้าน
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ภาควิชาให้เลือกเรียนเยอะ
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชาจะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา ฐานข้อมูล Database
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network วิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis And Design SA
จะต่างกันตรง ชื่อวิชา รหัสวิชา
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชาสารสนเทศการแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
สาขา ภาควิชาสารสนเทศการแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การแพทย์
EZ IDOL "แพทย์ จุฬาฯ" https://www.youtube.com/watch?v=X3TbaakMfRk
เจาะใจ นศ.แพทย์ https://www.youtube.com/watch?v=hnp0mJoPzuY
แพทย์ VS สัตวแพทย์ https://www.youtube.com/watch?v=KQag_ZLH3_M
เทคนิคพิชิต "แพทย์" https://www.youtube.com/watch?v=39NxgIXWVTk
อยากเป็นหมอ ต้องเรียนอะไรบ้าง https://www.youtube.com/watch?v=aAvgYrVUatc
คุณสมบัติเฉพาะ นักศึกษาแพทย์ https://www.youtube.com/watch?v=dqxwj8qVD38
กบนอกกะลา 02 ตอน กว่าจะเป็นหมอ ตอนที่ 1-2 https://www.youtube.com/watch?v=yNat0NL2w2Q
เรียนไอที + สุขภาพ สาขาสารสนเทศการแพทย์ U-Review https://www.youtube.com/watch?v=ucwDVO72Jik
http://www.admissionpremium.com/
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาสารสนเทศการแพทย์
สาขาสารสนเทศการแพทย์ เปิดสอนเกี่ยวกับ การทำงานด้านสุขภาพ การแพทย์ และ กระบวนการจัดการข้อมูลของคนไข้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การเรียนแบบ Interdisciplinary ระหว่าง วิชาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสาธารณสุข มี 2 แผนการเรียน ได้แก่
1. ด้านการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์
2. ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์
สามารถประกอบอาชีพเป็น นักพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการแพทย์ในโรงพยาบาล นักเวชสถิติ ผู้ดูแลระบบเครือข่าย Network คอมพิวเตอร์ และ ระบบฐานข้อมูล Database ทางการแพทย์ นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบด้านสารสนเทศการแพทย์
เรียนแล้วทำงานอะไร
นักเวชระเบียน
นักเวชสถิติ
นักวิเคราะห์ภาพถ่ายทางการแพทย์
นักวิเคราะห์ระบบด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์/โปรแกรม
นักพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลด้านการแแพทย์และโรงพยาบาล
ผู้ประสานงานโครงการด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
1.นักเวชระเบียน
2.นักเวชสถิติ
3.นักวิเคราะห์ภาพถ่ายทางการแพทย์
4.นักวิเคราะห์ระบบด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
5.นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์/โปรแกรม
6.นักพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
7.ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลด้านการแแพทย์และโรงพยาบาล
8.ผู้ประสานงานโครงการด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
ไม่เลือกงาน ไม่ตกงาน ถ้า เก่ง จริง และ มี ความสามารถ จริง
เงินเดือน ขึ้นอยู่กับ วุฒิ ตำแหน่ง ประสบการณ์ความสามารถของ แต่ละ บุคคล
แต่ละ คณะ สาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน
น้อง ต้องหาตัวเองให้พบ ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็น อย่างไร เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไรแล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียน
บางคนคิดว่า ถนัด พอมาเรียนจริง ๆ เรียน ไม่ไหว ไม่ได้ ทุก ปี ทุก มหาวิทยาลัย มี ย้าย คณะ สาขา ภาควิชา
ภาษา ใช้ในการเรียน ต่อ และ การทำงาน
ถ้า ถนัด แพทย์ คณะแพทยศาสตร์
ถ้า ถนัด โปรแกรมเมอร์ แพทย์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ถ้า ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
ถ้า ถนัด ออกแบบ พัฒนา เกม สาขา ภาควิชา เกม สาขา ภาควิชา เกม ก็มี เรียน เขียนโปรแกรม
ไม่ว่า จะเขียนโปรแกรม เกม ต้องมี ออกแบบ Design User Interface UI
เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ E ด้วยถึงจะดี
คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย
เขียนโปรแกรม อ่านให้เข้าใจ ปิดหนังสือ เว็บไซต์ ลองตั้งโจทย์ ขึ้น มา เขียน ตามความเข้าใจของ เรา อย่า เขียน ตามหนังสือ เว็บไซต์ เพราะ หนังสือ เว็บไซต์ ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้า เขียนโปรแกรม ตาม หนังสือ เว็บไซต์ แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ต้อง แก้ไข Edit โค้ด Code เป็น โดย ไม่พึ่ง คนอื่น ต้อง ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง เป็น ได้ เพราะ ไม่มีใคร มานั่งชี้แนะ ได้ตลอดเวลา ก็ เหมาะ ที่จะเรียน สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชาหนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชาเน้นคนละด้าน
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ภาควิชาให้เลือกเรียนเยอะ
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชาจะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา ฐานข้อมูล Database
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network วิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis And Design SA
จะต่างกันตรง ชื่อวิชา รหัสวิชา
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชาสารสนเทศการแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
สาขา ภาควิชาสารสนเทศการแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การแพทย์
EZ IDOL "แพทย์ จุฬาฯ" https://www.youtube.com/watch?v=X3TbaakMfRk
เจาะใจ นศ.แพทย์ https://www.youtube.com/watch?v=hnp0mJoPzuY
แพทย์ VS สัตวแพทย์ https://www.youtube.com/watch?v=KQag_ZLH3_M
เทคนิคพิชิต "แพทย์" https://www.youtube.com/watch?v=39NxgIXWVTk
อยากเป็นหมอ ต้องเรียนอะไรบ้าง https://www.youtube.com/watch?v=aAvgYrVUatc
คุณสมบัติเฉพาะ นักศึกษาแพทย์ https://www.youtube.com/watch?v=dqxwj8qVD38
กบนอกกะลา 02 ตอน กว่าจะเป็นหมอ ตอนที่ 1-2 https://www.youtube.com/watch?v=yNat0NL2w2Q
เรียนไอที + สุขภาพ สาขาสารสนเทศการแพทย์ U-Review https://www.youtube.com/watch?v=ucwDVO72Jik
http://www.admissionpremium.com/
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาสารสนเทศการแพทย์
สาขาสารสนเทศการแพทย์ เปิดสอนเกี่ยวกับ การทำงานด้านสุขภาพ การแพทย์ และ กระบวนการจัดการข้อมูลของคนไข้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การเรียนแบบ Interdisciplinary ระหว่าง วิชาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสาธารณสุข มี 2 แผนการเรียน ได้แก่
1. ด้านการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์
2. ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์
สามารถประกอบอาชีพเป็น นักพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการแพทย์ในโรงพยาบาล นักเวชสถิติ ผู้ดูแลระบบเครือข่าย Network คอมพิวเตอร์ และ ระบบฐานข้อมูล Database ทางการแพทย์ นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบด้านสารสนเทศการแพทย์
เรียนแล้วทำงานอะไร
นักเวชระเบียน
นักเวชสถิติ
นักวิเคราะห์ภาพถ่ายทางการแพทย์
นักวิเคราะห์ระบบด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์/โปรแกรม
นักพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลด้านการแแพทย์และโรงพยาบาล
ผู้ประสานงานโครงการด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
1.นักเวชระเบียน
2.นักเวชสถิติ
3.นักวิเคราะห์ภาพถ่ายทางการแพทย์
4.นักวิเคราะห์ระบบด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
5.นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์/โปรแกรม
6.นักพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
7.ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลด้านการแแพทย์และโรงพยาบาล
8.ผู้ประสานงานโครงการด้านการแพทย์และโรงพยาบาล
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
แสดงความคิดเห็น
โปรแกรมเมอร์ หรือ แพทย์ ไปทางไหนดี ชอบทั้งสองเส้นทาง
มาสรุปเลยดีกว่า
1ผมอยากถามว่า ที่ผมคิดเป้าหมายไว้เเบบนี้ พี่ๆเพื่อนๆคิดว่าโอกาสที่ผมจะทำสำเร็วมีมากกว่า 0.0001%ไหมครับ เพราะมันห่างไกลจากความเป็นจริงเหลือเกิน
2ผมอยากรู้ว่าถ้าผมเลือกเรียนสายเเพทย์ผมต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างครับ เเต่ผมขอไม่เรียนพิเศษนะครับ เพราะว่าฐานะทางบ้านเรียกได้ว่า พอมีพอกิน ผมไม่อยากจะรบกวนเงินจากพ่อแม่เเละญาติๆมากนัก
3มีโอกาสไหมครับที่ผมจะสามารถเรียนรู้เเละพัฒนาทักษะด้านโปรแกรมจากการซื้อหนังสือมาอ่านเเล้วขยันเขียนโปรแกรม
4กพสท ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างครับ
5พอจะมีค่ายเเพทย์ที่ดีๆแนะนำบ้างไหมครับ เพราะผมอยากจะไปทุกค่าย เพื่อไปสะสมประสบการณ์เเละความรู้ วิธีการ เพื่อเตรียมพร้อมในการสอบ
6การเรียน รด มีผลต่อการสอบเข้าไหมครับ
7ต้องควบคุมเวลานอนให้ได้อย่างน้อยกี่ชั่วโมงครับ
8เป็นไปได้ไหมว่า ถ้าผมจัดการตัวเองดีๆ เเบ่งเวลาอ่านหนังสือ เเละ จดจ่ออยู่กับผมมากๆ ผมจะเป็นบ้าไปไหม
ขอบคุณครับที่รับฟังเเละนั่งอ่านจบจบ
รบกวนออกความเห็นด้วยครับ ขอบคุณครับ