คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 7
ยังคงตีความกันอยู่ว่า มาตร 46 ของ พรบ ไปรษณี ไห้สิทธิ์ถึงตรงไหน
แต่ส่วนมากการจะทำเหนือสิทพิเศษมากกว่ารถทั่วไป ยังไม่ได้เป็นสิ่งที่ทำได้ 100%
เวลาจะต้องทำข้อตกลงกับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่อย่างเทศกิจ ตำรวจ หรือทางด่วนก่อน
พรบ.ไปรษณี 2477
http://postact.mict.go.th/documents/007.pdf
ส่วนถ้าจะมองว่าทำไมไม่แฟร์ ขนส่งเจ้าอื่นไม่ได้ยังงี้บ้าง
ก็เดี๋ยวลองมองมุมที่ว่า กำไรของบริษัท 100% ต้องถูกส่งเข้ารัฐทั้งหมด
งบ/แนวทางพัฒนา-โบนัสจะถูกคณะกรรมการ
จาก กระทรวงการคลัง กระทรวงไอซีที กฤษฎีกา แล้วก็สภาผู้แทนคอยวางนโยบายต่างๆ
เงินเดือนพนักงานทั้งหมดต้องอยู่ภายไต้โครงสร้างที่ถูกกำหนดจากรัฐ
แล้วก็ค่าส่งต้องอยู่ในเรตที่กำหนดเท่านั้น อะไรงี้ลองดูครับ
หรือจะเอาไกล้ๆตัวหน่อยก็ ทางด่วน/รถไฟฟ้า ปิดถนนทำทางได้
การไฟฟ้า โทรศัพ เอาเสาไฟมาตั้งบนฟุตบาทได้
กสท เอาดาวเทียมมาลอยบนหัวพวกเราได้ โมเม้นมันเป็นอะไรประมาณนี้น่ะครับ
ไปรษณี ถือเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานของประเทศ
ทุกๆคนในประเทศมีสิทธิ์ที่จะได้เข้าถึงอย่างเท่าเทียมกัน
ซึ่งหน่วยงานเองก็ต้องให้บริการอย่างทั่วถึงทุกๆคน ด้วยงบที่จำกัด
การทำงานเลยเป็นอะไรที่ยังดูมีปัญหาอยู่บ้าง
แต่ส่วนมากการจะทำเหนือสิทพิเศษมากกว่ารถทั่วไป ยังไม่ได้เป็นสิ่งที่ทำได้ 100%
เวลาจะต้องทำข้อตกลงกับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่อย่างเทศกิจ ตำรวจ หรือทางด่วนก่อน
พรบ.ไปรษณี 2477
http://postact.mict.go.th/documents/007.pdf
ส่วนถ้าจะมองว่าทำไมไม่แฟร์ ขนส่งเจ้าอื่นไม่ได้ยังงี้บ้าง
ก็เดี๋ยวลองมองมุมที่ว่า กำไรของบริษัท 100% ต้องถูกส่งเข้ารัฐทั้งหมด
งบ/แนวทางพัฒนา-โบนัสจะถูกคณะกรรมการ
จาก กระทรวงการคลัง กระทรวงไอซีที กฤษฎีกา แล้วก็สภาผู้แทนคอยวางนโยบายต่างๆ
เงินเดือนพนักงานทั้งหมดต้องอยู่ภายไต้โครงสร้างที่ถูกกำหนดจากรัฐ
แล้วก็ค่าส่งต้องอยู่ในเรตที่กำหนดเท่านั้น อะไรงี้ลองดูครับ
หรือจะเอาไกล้ๆตัวหน่อยก็ ทางด่วน/รถไฟฟ้า ปิดถนนทำทางได้
การไฟฟ้า โทรศัพ เอาเสาไฟมาตั้งบนฟุตบาทได้
กสท เอาดาวเทียมมาลอยบนหัวพวกเราได้ โมเม้นมันเป็นอะไรประมาณนี้น่ะครับ
ไปรษณี ถือเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานของประเทศ
ทุกๆคนในประเทศมีสิทธิ์ที่จะได้เข้าถึงอย่างเท่าเทียมกัน
ซึ่งหน่วยงานเองก็ต้องให้บริการอย่างทั่วถึงทุกๆคน ด้วยงบที่จำกัด
การทำงานเลยเป็นอะไรที่ยังดูมีปัญหาอยู่บ้าง
แสดงความคิดเห็น
บุรุษไปรษณีย์ได้รับอนุญาตหรือข้อยกเว้นพิเศษใดๆ ในการขี่มอเตอร์ไซต์บนฟุตบาธด้วยเหรอคะ
ขากลับก็เดินเรียงแถวกันมา เพราะฟุตบาธช่วงหัวโค้งก่อนเลี้ยวเข้าแฮปปี้แลนด์ถนนแคบ แล้วแกงค์เรามีเด็กเล็กระดับอนุบาลมาด้วย 1 คน (พอดีลูกของลูกน้องป่วย นางเลยต้องเอาลูกมาพยาบาลที่ออฟฟิศ แล้วพาออกมากินข้าวด้วย)
เราเดินอยู่ข้างหน้าจนมาถึงจุดเกิดเหตุ (ในภาพ)
ก็ผงะกับมอเตอร์ไซค์คันหนึ่งที่กำลังพุ่งสวนมาค่ะ ปรากฎว่าเป็นบุรุษไปรษณีย์ ซึ่งขณะนั้นถนนตรงข้ามเดอะมอลล์รถติดหนักมาก ไม่สามารถขยับได้
เราเลยยืนขวางเลยค่ะ แล้วถามว่า บนฟุตบาธมันใช่ที่ๆ มอเตอไซค์ควรวิ่งเหรอคะ ไม่เห็นเหรอว่าเด็กก็เดินอยู่ คุณมาวิ่งบนทางเท้าคนเดินแบบนี้มันอันตรายนะ ทำไมไม่ไปวิ่งบนถนน (คืออารมณ์ค้างจากเมื่อเช้าด้วยค่ะ ว่าเกือบเจอมอเตอร์ไซค์ที่วิ่งสวนเลนมาชนเอาบนฟุตบาธแถวออฟฟิศ แต่ด่าไม่ทัน เพราะขี่แว้บหายไปอย่างรวดเร็ว)
เราโดนด่ากลับค่ะ บุรุษไปรษณีย์ท่านนั้นบอกว่า ผมก็วิ่งของผมอย่างนี้อยู่ทุกวัน คุณจะมาว่าอะไร ผมต้องแกะตู้ไปรษณีย์ แล้วก็ตะโกนดังๆ อยู่ตลอดเวลาว่า ผมวิ่งของผมอยู่ทุกวัน แถมยังตะโกนบอกวินมอเตอร์ไซค์อีกคันที่วิ่งสวนมาบนฟุตบาธ ว่าให้ระวัง คุณคนนี้เค้าว่าวิ่งบนฟุตบาธมันอันตราย เฮ้ยยยย มันกลายเป็นว่า คนเดินบนฟุตบาธ ต้องระวังมอเตอร์ไซค์ ที่ทำผิดกฎหมายงั้นเหรอคะ โอ้ววว ชีวิตคนกรุงเทพฯ แถมคนที่ทำผิด ดันเป็นหน่วยงานรัฐ ที่ไม่ใช่วินมอเตอร์ไซค์อีก !!!
หรือเราเข้าใจอะไรผิดคะ คือ หรือว่า บุรษไปรษณีย์มีสิทธิพิเศษอะไร หรือกฎหมายอะไรรองรับเหรอคะ ในการให้สามารถวิ่งบนฟุตบาธเพื่อเปิดตู้ไปรษณีย์ได้ แถวบ้านเรา บุรุษไปรษณีย์เค้าก็จอดไว้บนถนนแล้วใช้เปิดตู้เอานะ