คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ลองดู Diagram ที่ผมเเนบไว้ให้ครับ
ทำความเข้าใจกันน่อยครับ...หน้าที่ของ Air receiving tank หรือถังเก็บลมอัด คือ
1.สำรองลมอัดไว้สำหรับกรณีที่ มีความต้องการลมมากเกินปกติ เช่นเครื่อง press ในไลน์การผลิตเวลาใช้ลมมันจะกระชาก หมายถึงใช้ปริมาณลมค่อนข้างมาก เมื่อดึงลมมากถ้าไม่มีปริมาณลมสำรองไว้ เพียงพอ รอเเต่compressor ทำ pressure จะไม่นิ่งส่งผลให้product เกิด defect
2.เอาไว้ลดอุณภูมิของลมอัด ถ้าเราไปดูดาต้าของผู้ผลิตจะเห็นว่าอุณหภูมิที่ออกมาจาก compressor จะประมาณ 45องศา ตัวถังพักลมจะลดอุณหภูมิได้ประมาณ 3 องศาครับ ส่งผลให้โหลดที่เข้าไปที่ air dryer ก็น้อยลง air dryer ก็ทำงานเบาลง อายุการใช้งานก็มากขึ้นครับ
3.ทำหน้าที่คัดเเยกฝุ่นได้ระดับนึง เนื่องจากท่อลมที่ออกจาก compressor จะต่อเข้าด้านล่าง tankเเละออกจากtank ที่ด้านบน นั้นหมายความว่า ลมอัดจะลอยจากล่างขึ้นมาข้างบน อนุภาพที่ปนมากับอากาศจะตกลงสู่ด้านล่าง ครับ
note !!! สำหรับ air receiving tank ไม่ได้ทำหน้าที่กักน้ำคอนเดนเสต ไว้ครับเเต่มันเป็นผลพลอยได้ครับจากการที่ลดอุณหภูมิละมันควบเเน่นกลายเป็นหยดน้ำ ตกลงสู่ด้านล่างครับ เเต่ที่สุดเเล้วลมอัดจะไปนำความชื้นออก ที่ Air dryer อีกรอบนึงครับ
จากเหตุผลที่บอกไปด้านบน เราจะเห็นถึงความสำคัญของ air receiving tank กันไปเเล้วนะครับ ประเด็นต่อมาคือ
ถ้ามันเล็กไป จำเกิดอะไรขึ้น .... อันนี้ฝากไปวิเคราะห์ต่อเองนะครับ ^^
เเต่ถ้ามันใหญ่ไปละ.... คำตอบคือ จะเปลืองโดยใช่เหตุครับ หมายถึงว่าจริงๆอาจจะใช้tank เเค่ 5 m^3 เเเต่ เราไปใช้ 8m^3 มันก็เปลืองโดยใช่เหตุถูกไหมครับ อันนี้ คอมมอนเซนส์
ถามต่อครับ ....ละขนาดเท่าไหร่ถึงจะพอเหมาะกับ compressor ของเราละครับ
คำตอบคือ เราต้องไปดูว่าปริมาณการใช้ลมในโรงงานครับว่ามันเป็นยังไง ต้องการมากต้องการน้อย peak เวลาไหน
เเต่ในการทำงานผู้ผลิตก็เเนะนำไว้ครับว่า
ขนาด tank = (flow rate * 1.033)/(working presure +1.033)
flow rate หน่วยเป็น CMM
กระเพรา....
ทำความเข้าใจกันน่อยครับ...หน้าที่ของ Air receiving tank หรือถังเก็บลมอัด คือ
1.สำรองลมอัดไว้สำหรับกรณีที่ มีความต้องการลมมากเกินปกติ เช่นเครื่อง press ในไลน์การผลิตเวลาใช้ลมมันจะกระชาก หมายถึงใช้ปริมาณลมค่อนข้างมาก เมื่อดึงลมมากถ้าไม่มีปริมาณลมสำรองไว้ เพียงพอ รอเเต่compressor ทำ pressure จะไม่นิ่งส่งผลให้product เกิด defect
2.เอาไว้ลดอุณภูมิของลมอัด ถ้าเราไปดูดาต้าของผู้ผลิตจะเห็นว่าอุณหภูมิที่ออกมาจาก compressor จะประมาณ 45องศา ตัวถังพักลมจะลดอุณหภูมิได้ประมาณ 3 องศาครับ ส่งผลให้โหลดที่เข้าไปที่ air dryer ก็น้อยลง air dryer ก็ทำงานเบาลง อายุการใช้งานก็มากขึ้นครับ
3.ทำหน้าที่คัดเเยกฝุ่นได้ระดับนึง เนื่องจากท่อลมที่ออกจาก compressor จะต่อเข้าด้านล่าง tankเเละออกจากtank ที่ด้านบน นั้นหมายความว่า ลมอัดจะลอยจากล่างขึ้นมาข้างบน อนุภาพที่ปนมากับอากาศจะตกลงสู่ด้านล่าง ครับ
note !!! สำหรับ air receiving tank ไม่ได้ทำหน้าที่กักน้ำคอนเดนเสต ไว้ครับเเต่มันเป็นผลพลอยได้ครับจากการที่ลดอุณหภูมิละมันควบเเน่นกลายเป็นหยดน้ำ ตกลงสู่ด้านล่างครับ เเต่ที่สุดเเล้วลมอัดจะไปนำความชื้นออก ที่ Air dryer อีกรอบนึงครับ
จากเหตุผลที่บอกไปด้านบน เราจะเห็นถึงความสำคัญของ air receiving tank กันไปเเล้วนะครับ ประเด็นต่อมาคือ
ถ้ามันเล็กไป จำเกิดอะไรขึ้น .... อันนี้ฝากไปวิเคราะห์ต่อเองนะครับ ^^
เเต่ถ้ามันใหญ่ไปละ.... คำตอบคือ จะเปลืองโดยใช่เหตุครับ หมายถึงว่าจริงๆอาจจะใช้tank เเค่ 5 m^3 เเเต่ เราไปใช้ 8m^3 มันก็เปลืองโดยใช่เหตุถูกไหมครับ อันนี้ คอมมอนเซนส์
ถามต่อครับ ....ละขนาดเท่าไหร่ถึงจะพอเหมาะกับ compressor ของเราละครับ
คำตอบคือ เราต้องไปดูว่าปริมาณการใช้ลมในโรงงานครับว่ามันเป็นยังไง ต้องการมากต้องการน้อย peak เวลาไหน
เเต่ในการทำงานผู้ผลิตก็เเนะนำไว้ครับว่า
ขนาด tank = (flow rate * 1.033)/(working presure +1.033)
flow rate หน่วยเป็น CMM
กระเพรา....
แสดงความคิดเห็น
ถังพักอากาศมีขนาดเล็กไปมีผลอย่างไร กับระบบCompressor
ถังพักอากาศในระบบอัดอากาศมีผลอย่างไรกับระบบ
ถ้าถังเล็กไปจะเป็นอย่างไร?
ถังใหญ่ไปมีผลอย่างไร?
ขอบคุณครับ