ประเด็นสงกรานต์ที่ผ่านมาเกี่ยวกับผู้ชายถอดเสื้อเล่นน้ำ ที่กลายเป็นข่าวโด่งดังทั้งประเทศ คือ กรณีฝรั่งถูกจับ??
และล่าสุดมีหนุ่ม3ราย ไม่สวมเสื้อเล่นน้ำสงกรานต์ในคูเมืองเชียงใหม่ซึ่งเป็นเขตควบคุมพิเศษ เปรียบเทียบปรับรายละ 100 บาท
คำถามที่ตามมามากมายว่า การที่ตำรวจอ้างม.388 แต่ยุคไหนสมัยไหน ผู้ชายกับการถอดเสื้อมีมาตั้งนานและเป็นเรื่องปกติมากๆค่ะ เพราะ
"การถอดเสื้อของผู้ชายไม่ถือว่าเป็นการลามก และอนาจาร เนื่องจากสรีระเรือนร่างชายไม่ได้มีสัญลักษณ์ทางเพศ(เต้านม)เหมือนหญิง แล้วทำไมการเกณฑ์ทหารจึงต้องถอดเสื้อทุกคน แถมยังเป็นที่สาธารณะ เหตุใดทำไมไม่มีใครไปจับหรือปรับ"
แปลได้ตามบริบททางสังคมว่า ตราบใดที่ผู้ชายไม่ได้ถอดท่อนล่าง ไม่ถือว่าเป็นความผิดใดๆ
ดังนั้นการที่ตำรวจอ้างม.388มันจึงใช้ไม่ได้ เพราะหลักนิติศาสตร์ มันต้องควบคู่ไปกับหลักรัฐศาสตร์ และสอดคล้องกับสังคมศาสตร์ เพราะกฎหมายบางบทยังมีเรื่องราวของประเพณีมาบัญญัติไว้เป็นกฎหมาย เช่น ประเพณีการแต่งงาน เป็นต้น
มีหลายฝ่ายออกความเห็น ล่าสุดนักอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม ชาวเชียงใหม่ น.ส.คำสีดา แป้นไทย ให้ความเห็นว่าการจับกุมชายชาวฝรั่งถอดเสื้อในงานสงกรานต์ เมื่อเห็นข่าวก็งงอยู่ หากเป็นผู้หญิงกระทำนุ่งน้อยห่มน้อยก็เห็นสมควรจะต้องดำเนินการ ส่วนผู้ชายที่ถอดเสื้อกลางสถานที่สาธารณะถือเป็นเรื่องที่เห็นกันทั่วไป แม้กระทั่งในขบวนแห่ทางวัฒนธรรรมก็มีการถอดเสื้อโชว์เนื้อหนังมังสาอยู่ในขบวนที่แห่ไปตามถนนสายต่างๆ ตามแบบโบราณของชายไทย
"ปีหน้าเห็นควรเสนอต่อท่านผู้ว่าฯ ขอความร่วมมือไปยังโรงแรม เกสต์เฮาส์สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อร่วมรณรงค์ให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยวที่จะมาเที่ยววันสงกรานต์หรือในวันสำคัญๆ ในการแต่งกายอันโดยทำป้ายภาพการแต่งกายที่ควรและไม่ควรติดไว้ให้เห็นเป็นคำเตือนจะดีมั้ยคะ น่าจะช่วยลดปัญหาความไม่เหมาะไม่ควรและช่วยลดภาระหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจด้วย" น.ส.คำสีดา กล่าว.
มาดูคอมเม้นกันบ้าง ซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ90%ขึ้นไป ไม่เห็นด้วย พร้อมกับด่าทอมากมาย
ปล. การที่จับผู้ชายถอดเสื้อนั้น เข้าข่ายละเมิดสิทธิมนุษยชนใช่หรือไม่
เพราะผู้ชายถอดเสื้อ ตามหลักความเป็นจริงแล้ว เป็นเรื่องปกติ เป็นบรรทัดฐานทางสังคมที่กระทำมานานแล้ว
ดราม่าจับผู้ชายถอดเสื้อ ใครคิดใครโง่ ?
และล่าสุดมีหนุ่ม3ราย ไม่สวมเสื้อเล่นน้ำสงกรานต์ในคูเมืองเชียงใหม่ซึ่งเป็นเขตควบคุมพิเศษ เปรียบเทียบปรับรายละ 100 บาท
คำถามที่ตามมามากมายว่า การที่ตำรวจอ้างม.388 แต่ยุคไหนสมัยไหน ผู้ชายกับการถอดเสื้อมีมาตั้งนานและเป็นเรื่องปกติมากๆค่ะ เพราะ
"การถอดเสื้อของผู้ชายไม่ถือว่าเป็นการลามก และอนาจาร เนื่องจากสรีระเรือนร่างชายไม่ได้มีสัญลักษณ์ทางเพศ(เต้านม)เหมือนหญิง แล้วทำไมการเกณฑ์ทหารจึงต้องถอดเสื้อทุกคน แถมยังเป็นที่สาธารณะ เหตุใดทำไมไม่มีใครไปจับหรือปรับ"
แปลได้ตามบริบททางสังคมว่า ตราบใดที่ผู้ชายไม่ได้ถอดท่อนล่าง ไม่ถือว่าเป็นความผิดใดๆ
ดังนั้นการที่ตำรวจอ้างม.388มันจึงใช้ไม่ได้ เพราะหลักนิติศาสตร์ มันต้องควบคู่ไปกับหลักรัฐศาสตร์ และสอดคล้องกับสังคมศาสตร์ เพราะกฎหมายบางบทยังมีเรื่องราวของประเพณีมาบัญญัติไว้เป็นกฎหมาย เช่น ประเพณีการแต่งงาน เป็นต้น
มีหลายฝ่ายออกความเห็น ล่าสุดนักอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม ชาวเชียงใหม่ น.ส.คำสีดา แป้นไทย ให้ความเห็นว่าการจับกุมชายชาวฝรั่งถอดเสื้อในงานสงกรานต์ เมื่อเห็นข่าวก็งงอยู่ หากเป็นผู้หญิงกระทำนุ่งน้อยห่มน้อยก็เห็นสมควรจะต้องดำเนินการ ส่วนผู้ชายที่ถอดเสื้อกลางสถานที่สาธารณะถือเป็นเรื่องที่เห็นกันทั่วไป แม้กระทั่งในขบวนแห่ทางวัฒนธรรรมก็มีการถอดเสื้อโชว์เนื้อหนังมังสาอยู่ในขบวนที่แห่ไปตามถนนสายต่างๆ ตามแบบโบราณของชายไทย
"ปีหน้าเห็นควรเสนอต่อท่านผู้ว่าฯ ขอความร่วมมือไปยังโรงแรม เกสต์เฮาส์สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อร่วมรณรงค์ให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยวที่จะมาเที่ยววันสงกรานต์หรือในวันสำคัญๆ ในการแต่งกายอันโดยทำป้ายภาพการแต่งกายที่ควรและไม่ควรติดไว้ให้เห็นเป็นคำเตือนจะดีมั้ยคะ น่าจะช่วยลดปัญหาความไม่เหมาะไม่ควรและช่วยลดภาระหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจด้วย" น.ส.คำสีดา กล่าว.
มาดูคอมเม้นกันบ้าง ซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ90%ขึ้นไป ไม่เห็นด้วย พร้อมกับด่าทอมากมาย
ปล. การที่จับผู้ชายถอดเสื้อนั้น เข้าข่ายละเมิดสิทธิมนุษยชนใช่หรือไม่
เพราะผู้ชายถอดเสื้อ ตามหลักความเป็นจริงแล้ว เป็นเรื่องปกติ เป็นบรรทัดฐานทางสังคมที่กระทำมานานแล้ว