คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 8
ขึ้นอยู่กับว่า เมื่อนายข.ไปฆ่าคนแล้ว เกิดความรู้สึกที่ไปค้านกับมโนธรรมที่ประกอบด้วยกุศลจิตหรือไม่ ถ้าทำแล้วได้รับผลเป็นความทุกข์ทรมาณทั้งทางด้านกายและใจจากการกระทำนั้น ก็ถือว่าเป็นบาป
แต่ถ้าทำแล้ว ไม่รู้สึกถึงผลกระทบใดๆที่เกิดขึ้นทางด้านจิตใจ ก็คงไม่เรียกว่าเป็น"บาป" สำหรับนายข. (แต่เรียกว่าเป็นบาปสำหรับนายก.หรือผู้ที่นับถือศาสนา) นายข.จะมีบาปเกิดขึ้นในใจก็ต่อเมื่อถูกตำรวจจับติดคุก แล้วระหว่างอยู่ในคุกต้องได้รับความทนทุกข์ทรมาณทั้งทางกายและใจ; เมื่อนายข.รู้สึกสำนึกผิดในสิ่งที่ตนได้กระทำลงไป แล้วต้องทนทุกข์ทรมาณกับความรู้สึกนั้น ก็เรียกว่าเป็นบาป
ในกรณีนี้ก็คล้ายๆกับ องคุลีมาลย์ ที่ไปฆ่าตัดนิ้วคนมาร้อยเป็นพวงมาลัยคล้องคอ ; ขณะที่กระทำก็ไม่ได้มีรู้สึกใดๆกับการฆ่าที่คนทั่วไปถือว่าเป็นบาป ; ต่อเมื่อพระพุทธเจ้ามาโปรดด้วยคำพูดที่ว่า"เราหยุดแล้ว แต่ท่านสิยังไม่หยุด" เมื่อองคุลีมาลย์ได้สดับในคำตรัสของพุทธองค์แล้ว ก็เข้าใจในธรรมนั้น แล้วรู้สึกสำนึกผิดใน"บาป"ที่ตนได้กระทำไป ต่อมาก็ได้บวชจนกระทั่งบรรลุ ได้เป็นพระอรหันต์
แต่ถ้าทำแล้ว ไม่รู้สึกถึงผลกระทบใดๆที่เกิดขึ้นทางด้านจิตใจ ก็คงไม่เรียกว่าเป็น"บาป" สำหรับนายข. (แต่เรียกว่าเป็นบาปสำหรับนายก.หรือผู้ที่นับถือศาสนา) นายข.จะมีบาปเกิดขึ้นในใจก็ต่อเมื่อถูกตำรวจจับติดคุก แล้วระหว่างอยู่ในคุกต้องได้รับความทนทุกข์ทรมาณทั้งทางกายและใจ; เมื่อนายข.รู้สึกสำนึกผิดในสิ่งที่ตนได้กระทำลงไป แล้วต้องทนทุกข์ทรมาณกับความรู้สึกนั้น ก็เรียกว่าเป็นบาป
ในกรณีนี้ก็คล้ายๆกับ องคุลีมาลย์ ที่ไปฆ่าตัดนิ้วคนมาร้อยเป็นพวงมาลัยคล้องคอ ; ขณะที่กระทำก็ไม่ได้มีรู้สึกใดๆกับการฆ่าที่คนทั่วไปถือว่าเป็นบาป ; ต่อเมื่อพระพุทธเจ้ามาโปรดด้วยคำพูดที่ว่า"เราหยุดแล้ว แต่ท่านสิยังไม่หยุด" เมื่อองคุลีมาลย์ได้สดับในคำตรัสของพุทธองค์แล้ว ก็เข้าใจในธรรมนั้น แล้วรู้สึกสำนึกผิดใน"บาป"ที่ตนได้กระทำไป ต่อมาก็ได้บวชจนกระทั่งบรรลุ ได้เป็นพระอรหันต์
แสดงความคิดเห็น
ผมสงสัย.?