เหมือนทำไม่สุด
พิกัด 18.822924, 99.011650
15.228708, 104.856466
16.427301, 102.870761
ตูจะข้ามยังไงละทีนี้
14.351328, 100.575667
เริ่มพีค
13.753317, 100.531894
12.926301, 100.875459
18.757959, 99.007333
เผื่อใครยังไม่รู้สึกว่าแปลก มาชมของต่างประเทศกัน
เนเธอร์แลนด์ 51.856761, 4.536232
เยอรมนี 51.350350, 12.447249
อเมริกา 33.755382, -84.391099
ญี่ปุ่น
สิงคโปร์ 1.355644, 103.873548
อิสราเอล 32.092218, 34.878134
โคลอมเบีย 6.263473, -75.559739
ภาพประกอบนำมาจาก Google Streetview
(เพิ่มเติมข้อความ)
เห็นความแตกต่างอะไรไหม
แยกบางแห่งไม่มีทางม้าลายข้าม บางแห่งมี แต่ไม่คำนึงถึงว่าใช้ได้จริงไหม ใช้ได้เต็มประสิทธิภาพไหม บางแห่งมีน้ำพุมีต้นไม้ประดับกีดขวางด้วยคำนึงถึงความสวยงาม ภูมิทัศน์มากกว่า บางแห่งมีสิ่งก่อสร้างกึดขวางเนื่องจากความจำเป็น? แต่ขาดการออกแบบที่เหมาะสม ขาดการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตอนก่อสร้าง บางแห่งทางม้าลายไม่ครบองค์ประกอบ มีทางข้ามแต่ไม่มีฟุตบาทให้เดิน ไม่มีทางลาด ขอบฟุตบาทสูงมาก เป็นต้น ดูไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
เท่าที่ดูของต่างประเทศพบว่า ไม่ว่าแยกนั้นจะเป็นแยกใหญ่ แยกเล็ก ปากซอย ไม่ว่าจะอยู่ในเมือง หรือหมู่บ้านเล็ก ๆ เขาก็ใช้มาตรฐานเดียวกันในการก่อสร้างทางแยกและจุดตัด คือมีทางเท้าและทางม้าลายข้ามแยกเสมอ เมืองไทยน่าจะมีมาตรฐานเฉพาะในเรื่องนี้ด้วย เพราะคนเดินเท้าก็ใช่ว่าจะไม่มี โดยเฉพาะในตัวเมือง ถนนหลายเส้นในเมืองไทยก็สร้างได้สวยงามและเป็นมาตรฐาน ฟุตบาทและทางคนข้ามก็น่าจะทำได้เช่นกัน
ทางข้ามแยกในเมืองไทยมันดูแปลก ๆ ว่าไหม
พิกัด 18.822924, 99.011650
15.228708, 104.856466
16.427301, 102.870761
ตูจะข้ามยังไงละทีนี้
14.351328, 100.575667
เริ่มพีค
13.753317, 100.531894
12.926301, 100.875459
18.757959, 99.007333
เผื่อใครยังไม่รู้สึกว่าแปลก มาชมของต่างประเทศกัน
เนเธอร์แลนด์ 51.856761, 4.536232
เยอรมนี 51.350350, 12.447249
อเมริกา 33.755382, -84.391099
ญี่ปุ่น
สิงคโปร์ 1.355644, 103.873548
อิสราเอล 32.092218, 34.878134
โคลอมเบีย 6.263473, -75.559739
ภาพประกอบนำมาจาก Google Streetview
(เพิ่มเติมข้อความ)
เห็นความแตกต่างอะไรไหม
แยกบางแห่งไม่มีทางม้าลายข้าม บางแห่งมี แต่ไม่คำนึงถึงว่าใช้ได้จริงไหม ใช้ได้เต็มประสิทธิภาพไหม บางแห่งมีน้ำพุมีต้นไม้ประดับกีดขวางด้วยคำนึงถึงความสวยงาม ภูมิทัศน์มากกว่า บางแห่งมีสิ่งก่อสร้างกึดขวางเนื่องจากความจำเป็น? แต่ขาดการออกแบบที่เหมาะสม ขาดการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตอนก่อสร้าง บางแห่งทางม้าลายไม่ครบองค์ประกอบ มีทางข้ามแต่ไม่มีฟุตบาทให้เดิน ไม่มีทางลาด ขอบฟุตบาทสูงมาก เป็นต้น ดูไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
เท่าที่ดูของต่างประเทศพบว่า ไม่ว่าแยกนั้นจะเป็นแยกใหญ่ แยกเล็ก ปากซอย ไม่ว่าจะอยู่ในเมือง หรือหมู่บ้านเล็ก ๆ เขาก็ใช้มาตรฐานเดียวกันในการก่อสร้างทางแยกและจุดตัด คือมีทางเท้าและทางม้าลายข้ามแยกเสมอ เมืองไทยน่าจะมีมาตรฐานเฉพาะในเรื่องนี้ด้วย เพราะคนเดินเท้าก็ใช่ว่าจะไม่มี โดยเฉพาะในตัวเมือง ถนนหลายเส้นในเมืองไทยก็สร้างได้สวยงามและเป็นมาตรฐาน ฟุตบาทและทางคนข้ามก็น่าจะทำได้เช่นกัน