คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 10
การจดทะเบียนสมรส
แนวปฏิบัติตามกฎหมายจริงๆ นายทะเบียน มีหน้าที่ต้อง "อำนวยพร" และให้โอวาทแก่สามีภริยาครับ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. ๒๕๔๑ ตามข้อ ๑๓ (๖)
"ข้อ ๑๓ เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอจดทะเบียนสมรส ณ สำนักทะเบียนอำเภอ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๖) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แก่คู่สมรสฝ่ายละหนึ่งฉบับ รวมทั้งกล่าว อำนวยพรและแนะนำวิธีปฏิบัติในหน้าที่ระหว่างสามีภริยาตามสมควร
ส่วนการจดทะเบียนหย่า
ระเบียบฯ ข้อ ๒๐ กำหนดให้นายทะเบียนต้อง "ชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ" หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า จึงอนุญาตให้หย่า ซึ่งในทางปฏิบัตินอกจากนายทะเบียนจะชี้แจ้งผลแห่งการหย่าแล้ว นายทะเบียนจะถึงการไตร่ตรองด้วย ว่าทั้งคู่ได้ไตร่ตรองที่จะหย่ากันจริงๆใช่หรือไม่ หากมีการลังเลจะให้กลับไปทบทวนใหม่ก็มีครับ
แนวปฏิบัติตามกฎหมายจริงๆ นายทะเบียน มีหน้าที่ต้อง "อำนวยพร" และให้โอวาทแก่สามีภริยาครับ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. ๒๕๔๑ ตามข้อ ๑๓ (๖)
"ข้อ ๑๓ เมื่อนายทะเบียนได้รับคำร้องขอจดทะเบียนสมรส ณ สำนักทะเบียนอำเภอ ให้นายทะเบียนดำเนินการดังนี้
(๖) มอบใบสำคัญการสมรส (คร.๓) ให้แก่คู่สมรสฝ่ายละหนึ่งฉบับ รวมทั้งกล่าว อำนวยพรและแนะนำวิธีปฏิบัติในหน้าที่ระหว่างสามีภริยาตามสมควร
ส่วนการจดทะเบียนหย่า
ระเบียบฯ ข้อ ๒๐ กำหนดให้นายทะเบียนต้อง "ชี้แจงผลของการจดทะเบียนการหย่าให้ผู้ร้องทราบ" หากผู้ร้องยังยืนยันที่จะขอจดทะเบียนการหย่า จึงอนุญาตให้หย่า ซึ่งในทางปฏิบัตินอกจากนายทะเบียนจะชี้แจ้งผลแห่งการหย่าแล้ว นายทะเบียนจะถึงการไตร่ตรองด้วย ว่าทั้งคู่ได้ไตร่ตรองที่จะหย่ากันจริงๆใช่หรือไม่ หากมีการลังเลจะให้กลับไปทบทวนใหม่ก็มีครับ
แสดงความคิดเห็น
จดทะเบียนสมรส / จดทะเบียนหย่า .... ในชีวิตจริง จนท. นายทะเบียน กล่าวอะไรกับ ผู้มาจดแจ้งตามความจำนงค์ บ้าง?