คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
จบ สายอาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ต้องขยันเพิ่ม เพราะ พื้นฐาน สายสามัญ ไม่แน่น
จบ สายอาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2ปี เรียน ต่อ มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3ปีต่อเนื่อง หรือ เทียบโอน ขึ้นอยู่ กับ วิชา ที่ เทียบโอน ได้ จาก โรงเรียน วิทยาลัย เดิม ถ้า ต่อ สาขา เดิม หรือ สาขา ที่เกี่ยวข้อง อาจจะ เทียบโอน ได้ เยอะ อาจจะจบ เร็ว ถ้า เปลี่ยน สาขา อาจจะ เทียบโอน ได้ น้อย อาจจะจบ ช้า ทั้งนี้ ทั้งนั้น ขึ้นอยู่ กับ ความขยันของ แต่ละบุคคล
ไม่เลือกงาน ไม่ตกงาน ถ้า เก่ง จริง และ มีความสามารถ จริง
ทุก วิทยาลัย มหาวิทยาลัย ดีหมด ขึ้นอยู่กับผู้เรียน จะมีความขยัน เยอะ แค่ไหน จะเก็บเกี่ยวเอาความรู้ มาได้ เยอะ แค่ไหน
แต่ ก่อน เรียก ต่อเนื่อง เดี๋ยวนี้ เรียก เทียบโอน
อิเล็กทรอนิกส์ เป็น พื้นฐาน ของ ไฟฟ้า ทุกสาขา ภาควิชา
ถามวิศวะ: วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=YjJe1KCeAkU
ลองดู ขอแนะนำ มหาวิทยาลัยศรีปทุม http://www.spu.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า http://www.spu.ac.th/engineer/courses/bachelors/electronics
แนะนำคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ศรีปทุม by VRZO https://www.youtube.com/watch?v=pSZcQwBQWqs
U-Review รีวิวสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ https://www.youtube.com/watch?v=GHUZRg7QgEI
มหาวิทยาลัยรังสิต http://www.rsu.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (กำลัง สื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์) http://www.rsu.ac.th/engineer/ee/gee/
http://www.rsu.ac.th/engineer/en/course/EE.pdf
Review วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ ม.รังสิต https://www.youtube.com/watch?v=dKrS6XYmGOM
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร http://www.mut.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง http://www.mut.ac.th/department.php?id=8
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม http://www.mut.ac.th/department.php?id=6
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์ http://www.mut.ac.th/department.php?id=1
ม.มหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ https://www.youtube.com/watch?v=Fefbc7nw5VU
มหาวิทยาลัยพะเยา http://www.up.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า http://www.ee.eng.up.ac.th/ee2015/?page_id=1653
Spirit of Competition วิศวะ ม.พะเยา https://www.youtube.com/watch?v=EBbBSpyAdtY
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://www.tu.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ http://www.ece.engr.tu.ac.th/
EN TU 56 by SC G22 https://www.youtube.com/watch?v=GgfkvCyfRIg
http://www.admissionpremium.com/
รายการปั้นฝัน "ทีเด็ดวิศวะ" ช่วงที่ 1 http://www.youtube.com/watch?v=ifrBs4oIH6c
รายการปั้นฝัน "ทีเด็ดวิศวะ" ช่วงที่ 2 http://www.youtube.com/watch?v=3RW03HqPVa8
คณะวิศวกรรมศาสตร์
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.ช่างคิด ชอบประดิษฐ์ คิดค้นสิ่งต่าง ๆ
.สนใจเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีใหม่และนวัตกรรม
.ชอบคำนวณ การวิเคราะห์ทางฟิสิกส์ และ คณิตศาสตร์
.มีลักษณะความเป็นผู้นำ
.ความสามารถวางแผน และแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
.ยึดมั่นในหลักเหตุและผล
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อ
กระบวนการภาคอุตสาหกรรม ด้านพลังงาน และความเป็นอยู่
ในชีวิตประจำวัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ามุ่งเน้นในการ
ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ เพียบพร้อมทั้งด้าน
ทฤษฎี ด้านระบบความคิด และด้านปฏิบัติ ตอบสนองต่อ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทั้งในด้านระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบควบคุม
การวัด ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และการสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นต้น นอกจากนี้ยังเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์
ด้วยองค์ความรู้ ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่ใกล้เคียง เพื่อให้ผู้เรียน
ได้สามารถเลือกศึกษาได้อย่างครบวงจร
โอกาสทางวิชาชีพ
วิศวกรไฟฟ้าคือผู้ที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างสมเหตุสมผลทางเศรษฐศาสตร์ งานของวิศวกรไฟฟ้าจึงเกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเชื่อมโยงกับการประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม นอกจากนี้งานของวิศวกรไฟฟ้ายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ รวมทั้งการทดสอบผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน งานของวิศวกรรมไฟฟ้ายังมีโอกาสเกี่ยวข้องกับโรงงานอุตสาหกรรมในการดูแลระบบไฟฟ้าและกระบวนการผลิต ซึ่งต้องใช้การวิเคราะห์ทั้งทางด้านวิศวกรรม การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ประกอบการดำเนินงาน วิศวกรไฟฟ้ายังอาจทำงานที่เกี่ยวข้องกับการขายการตลาดสำหรับ อุปกรณ์ หรือ ระบบ ที่ต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าในการให้คำปรึกษาทางเทคนิกการใช้งาน ติดตั้ง และการวางแผนของระบบ
ตัวอย่างงานของวิศวกรไฟฟ้า
วิศวกรออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า
วิศวกรวางแผน-ออกแบบระบบโครงข่ายโทรคมนาคม
วิศวกรโรงงาน
วิศวกรดูแลเครื่องจักรกลไฟฟ้า
วิศวกรระบบโทรคมนาคม
วิศวกรผู้จัดการอาคาร
วิศวกรระบบไฟฟ้ากำลัง
วิศวกรออกแบบแผ่นพิมพ์วงจร
วิศวกรด้านสมองกลฝังตัว
สร้างผลิตภัณฑ์
ที่ปรึกษาด้านพลังงาน
วิศวกรขายผลิตภัณฑ์ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
เป็นผู้ประกอบการ
ฯลฯ
ตัวอย่างสถานที่ทำงาน
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้านครหลวง
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเดิม)
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
บริษัทเอกชนผู้ประกอบการที่ใช้บริการด้านการสื่อสาร เครือข่ายโทรคมนาคม
บริษัทผลิตไฟฟ้าเอกชน
บริษัทสำรวจและผลิต ผลิตภัณฑ์ด้านปิโตเลียม
บริษัทผู้ประกอบการด้านปูนซีเมนต์
บริษัทเอกชนที่รับงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจากหน่วยงานของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ
บริษัทเอกชนที่ผลิต จำหน่าย ผลิตภัณฑ์ทางวิศวกรรมไฟฟ้า
โรงงานอุตสาหกรรม
บริษัทออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า ระบบเครือข่ายโทรคมนาคม
สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม เน้นหนักในด้านการสื่อสารโทรคมนาคมทุกรูปแบบ และให้มีความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย ทั้งการออกแบบวงจร อุปกรณ์การสื่อสาร การติดตั้งอุปกรณ์สื่อสารให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการจัดลำดับการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน และคำนึงถึงผู้เรียนเป็นสำคัญ การเรียนการสอนเริ่มตั้งแต่ขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้ด้านการสื่อสารอยู่เลย และรูปแบบการสอนยังทำให้ผู้ที่มีความรู้อยู่เดิมได้รับความรู้ใหม่ ๆ ที่น่าติดตามและทำให้เกิดการเรียนร่วมกันของนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มได้ โดยมีการจัดลำดับการเรียนดังนี้
ความรู้พื้นฐานทางการสื่อสาร คลื่น ความถี่ วงจรที่มีคุณสมบัติทางการสื่อสาร การสร้าง และออกแบบวงจรอย่างง่าย
การเรียนรู้คุณสมบัติของอุปกรณ์สื่อสาร การคำนวณเพื่อหาค่าตำแหน่งติดตั้งที่เหมาะสม
การออกแบบวงจร และอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูง
ได้รับการฝึกภาคปฏิบัติอย่างเข้มงวด และเข้าถึงการใช้งานอุปกรณ์ที่มีการใช้งานอยู่จริงในภาคอุตสาหกรรมจำนวนมาก และได้ทดสอบการวัดอุปกรณ์การสื่อสารที่ภาคเอกชนส่งเข้ามาทดสอบอย่างต่อเนื่อง
อาชีพที่รองรับ
วิศวกรโทรคมนาคม มีความเชี่ยวชาญด้านระบบสื่อสารระบบโครงข่ายโทรคมนาคม ทั้งการสร้างอุปกรณ์ระบบสื่อสาร การติดตั้งอุปกรณ์สื่อสารให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการใช้งานร่วมกับโปรแกรมควบคุมผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์และระบบสมัยใหม่ ทำให้มีบริษัทขนาดใหญ่จำนวนมากเปิดรับเข้าทำงานในหลายอัตราดังนี้
Production Supervisor
Maintenance Engineer
Quality Engineer
System Engineer
Implementation Engineer
R&D
Design Engineer
Flight Engineer
Sale Engineer
การประกอบอาชีพ
- วิศวกรติดตั้งและดูแลระบบการสื่อสาร เช่น บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด, บริษัท การสื่อสารโทรคมนาคม จำกัด, บริษัทไทยคม, บริษัท AIS, บริษัท DTEC, บริษัท Telecom Asia, บริษัท TT&T, บริษัท Ericsson, บริษัท Nokia และบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านโทรคมนาคมอีกมากมาย
- วิศวกรออกแบบ ติดตั้งและดูแลระบบสถานีวิทยุโทรทัศน์ อสมท ช่อง 9, สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 หรือประจำอยู่ที่สถานีทวนสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ และสถานีวิทยุต่างๆ ทั่วประเทศ
- วิศวกรดูแลระบบระบบสื่อสารสำหรับการบินพาณิชย์ เช่น บริษัท การบินไทย จำกัด, บริษัท วิทยุการบิน จำกัด หรือ สนามบินสุวรรณภูมิ
สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เน้นหนักไปที่การบูรณาการนำอุปกรณ์ทางไฟฟ้า มาออกแบบวงจรไฟฟ้าให้แก่อุปกรณ์อำนวยความสะดวกทุกชนิดในโลก ให้มีการใช้งานได้ประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยคณะวิศวกรรมสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ได้ทำการสอนอย่างเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนมีความเชี่ยวชาญระดับสูง โดยมีการเรียงลำดับการสอนดังนี้
กฎ และ ทฤษฎีทางวงจรไฟฟ้า
อุปกรณ์พื้นฐานของวงจรไฟฟ้า R resistor (ตัวต้านทาน), L Inductor (ตัวเหนี่ยวนำ), C Capacitor (ตัวเก็บประจุ) ให้ทราบความสามารถของแต่ละอุปกรณ์ การทำงานของแต่ละอุปกรณ์ และการนำอุปกรณ์เหล่านี้มาออกแบบเพื่อทำงานอย่างง่าย และ ทำงานเชิงประยุกต์
อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ และวงจรรวม (Active Device and IC) จำพวก Diode, Transistor, FET, Integrated Circuit ให้ทราบความสามารถของแต่ละอุปกรณ์ การทำงานของแต่ละอุปกรณ์ และการนำอุปกรณ์เหล่านี้มาออกแบบเพื่อทำงานอย่างง่ายและทำงานเชิงประยุกต์
ฝึกการออกแบบวงจรเพื่อทำงานตามโจทย์ที่กำหนด โดยประยุกต์ใช้อุปกรณ์พื้นฐาน อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ และ วงจรรวม มาทำงานร่วมกัน
ฝึกการมองปัญหาโดยรวบยอด และวิเคราะห์ สามารถแก้ไขปัญหา นำมาพิจารณาสร้างอุปกรณ์ด้วยวงจรไฟฟ้าที่ได้เรียนมา
จากที่กล่าวมาเมื่อทำการเรียนแล้วเสร็จนักศึกษาจะมีความสามารถในการออกแบบเครื่องใช้ไฟฟ้าได้หลากหลายชนิดตัวอย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ ตู้เติมเงินมือถือ เครื่องขายสินค้าหยอดเหรียญ เป็นต้น
อาชีพที่รองรับ
วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทำงานได้อย่างหลากหลายในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม ด้านการออกแบบและผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า ด้านควบคุมและซ่อมบำรุงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักรขนาดใหญ่ ทำให้มีความสามารถในการเข้ารับตำแหน่งงานได้หลายตำแหน่งดังนี้
Quality Engineer (วิศวกรคุณภาพ)
Production /Production Supervisor (ผู้ควบคุมการผลิต)
Maintenance Engineer (วิศวกรบำรุงรักษา)
Customer Engineer (วิศวกรผู้ดูแลและสื่อสารกับลูกค้า)
R&D Circuit Engineer (Research and Develope) (วิศวกรผู้วิจัยและพัฒนา)
Sale Engineer (วิศวกรผู้ดูแลการข่าย)
วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทำงานได้อย่างหลากหลายในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่วนและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำการออกแบบและผลิตแผ่นวงจรรวม อุตสาหกรรมอุปกรณ์หน่วยความจำและฮาร์ดดิสก์ที่มีฐานการผลิต
ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บริษัทด้านการสื่อสารและโทรคมนาคมที่ต้องการวิศวกรติดตั้งและดูแล
ระบบการสื่อสารที่กำลังขยายตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถทำงานเป็นวิศวกรการออกแบบและผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า วิศวกรควบคุมและซ่อมบำรุงในอุตสาหกรรม ที่มีบริษัทต่างๆ ทั้งของต่างชาติ และคนไทย รวมทั้ง SME ที่มีอยู่อย่างมากมาย โดยเหตุนี้สาขาวิชานี้จึงเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างกว้างขวาง ทั้งภาคเอกชน ราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ และยังสามารถประกอบอาชีพอิสระได้อีกด้วย
โอกาสทางการศึกษา หรือ โอกาสในการทำงาน
.วิศวกรงานระบบในโรงงานและอาคาร ทั้งในฐานะผู้ออกแบบ
ควบคุมการติดตั้ง หรือ บริหารการใช้งาน ในระบบไฟฟ้า
ระบบปรับอากาศ สื่อสารโทรคมนาคม ระบบควบคุมอัตโนมัติ
รวมถึงระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อม
.วิศวกรสนามในโครงการการก่อสร้างหรือผู้ออกแบบ
โครงสร้างอาคาร ระบบขนส่ง รวมถึงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
และสิ่งแวดล้อมของเมือง
.วิศวกรควบคุมออกแบบและบริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
หรือธุรกิจวิศวกรรมอื่น ๆ
.ผู
จบ สายอาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2ปี เรียน ต่อ มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3ปีต่อเนื่อง หรือ เทียบโอน ขึ้นอยู่ กับ วิชา ที่ เทียบโอน ได้ จาก โรงเรียน วิทยาลัย เดิม ถ้า ต่อ สาขา เดิม หรือ สาขา ที่เกี่ยวข้อง อาจจะ เทียบโอน ได้ เยอะ อาจจะจบ เร็ว ถ้า เปลี่ยน สาขา อาจจะ เทียบโอน ได้ น้อย อาจจะจบ ช้า ทั้งนี้ ทั้งนั้น ขึ้นอยู่ กับ ความขยันของ แต่ละบุคคล
ไม่เลือกงาน ไม่ตกงาน ถ้า เก่ง จริง และ มีความสามารถ จริง
ทุก วิทยาลัย มหาวิทยาลัย ดีหมด ขึ้นอยู่กับผู้เรียน จะมีความขยัน เยอะ แค่ไหน จะเก็บเกี่ยวเอาความรู้ มาได้ เยอะ แค่ไหน
แต่ ก่อน เรียก ต่อเนื่อง เดี๋ยวนี้ เรียก เทียบโอน
อิเล็กทรอนิกส์ เป็น พื้นฐาน ของ ไฟฟ้า ทุกสาขา ภาควิชา
ถามวิศวะ: วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=YjJe1KCeAkU
ลองดู ขอแนะนำ มหาวิทยาลัยศรีปทุม http://www.spu.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า http://www.spu.ac.th/engineer/courses/bachelors/electronics
แนะนำคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ศรีปทุม by VRZO https://www.youtube.com/watch?v=pSZcQwBQWqs
U-Review รีวิวสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ https://www.youtube.com/watch?v=GHUZRg7QgEI
มหาวิทยาลัยรังสิต http://www.rsu.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (กำลัง สื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์) http://www.rsu.ac.th/engineer/ee/gee/
http://www.rsu.ac.th/engineer/en/course/EE.pdf
Review วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ ม.รังสิต https://www.youtube.com/watch?v=dKrS6XYmGOM
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร http://www.mut.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง http://www.mut.ac.th/department.php?id=8
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม http://www.mut.ac.th/department.php?id=6
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์ http://www.mut.ac.th/department.php?id=1
ม.มหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ https://www.youtube.com/watch?v=Fefbc7nw5VU
มหาวิทยาลัยพะเยา http://www.up.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า http://www.ee.eng.up.ac.th/ee2015/?page_id=1653
Spirit of Competition วิศวะ ม.พะเยา https://www.youtube.com/watch?v=EBbBSpyAdtY
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://www.tu.ac.th
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ http://www.ece.engr.tu.ac.th/
EN TU 56 by SC G22 https://www.youtube.com/watch?v=GgfkvCyfRIg
http://www.admissionpremium.com/
รายการปั้นฝัน "ทีเด็ดวิศวะ" ช่วงที่ 1 http://www.youtube.com/watch?v=ifrBs4oIH6c
รายการปั้นฝัน "ทีเด็ดวิศวะ" ช่วงที่ 2 http://www.youtube.com/watch?v=3RW03HqPVa8
คณะวิศวกรรมศาสตร์
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.ช่างคิด ชอบประดิษฐ์ คิดค้นสิ่งต่าง ๆ
.สนใจเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีใหม่และนวัตกรรม
.ชอบคำนวณ การวิเคราะห์ทางฟิสิกส์ และ คณิตศาสตร์
.มีลักษณะความเป็นผู้นำ
.ความสามารถวางแผน และแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
.ยึดมั่นในหลักเหตุและผล
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อ
กระบวนการภาคอุตสาหกรรม ด้านพลังงาน และความเป็นอยู่
ในชีวิตประจำวัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ามุ่งเน้นในการ
ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ เพียบพร้อมทั้งด้าน
ทฤษฎี ด้านระบบความคิด และด้านปฏิบัติ ตอบสนองต่อ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทั้งในด้านระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบควบคุม
การวัด ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และการสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นต้น นอกจากนี้ยังเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์
ด้วยองค์ความรู้ ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่ใกล้เคียง เพื่อให้ผู้เรียน
ได้สามารถเลือกศึกษาได้อย่างครบวงจร
โอกาสทางวิชาชีพ
วิศวกรไฟฟ้าคือผู้ที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างสมเหตุสมผลทางเศรษฐศาสตร์ งานของวิศวกรไฟฟ้าจึงเกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเชื่อมโยงกับการประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม นอกจากนี้งานของวิศวกรไฟฟ้ายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ รวมทั้งการทดสอบผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน งานของวิศวกรรมไฟฟ้ายังมีโอกาสเกี่ยวข้องกับโรงงานอุตสาหกรรมในการดูแลระบบไฟฟ้าและกระบวนการผลิต ซึ่งต้องใช้การวิเคราะห์ทั้งทางด้านวิศวกรรม การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ประกอบการดำเนินงาน วิศวกรไฟฟ้ายังอาจทำงานที่เกี่ยวข้องกับการขายการตลาดสำหรับ อุปกรณ์ หรือ ระบบ ที่ต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าในการให้คำปรึกษาทางเทคนิกการใช้งาน ติดตั้ง และการวางแผนของระบบ
ตัวอย่างงานของวิศวกรไฟฟ้า
วิศวกรออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า
วิศวกรวางแผน-ออกแบบระบบโครงข่ายโทรคมนาคม
วิศวกรโรงงาน
วิศวกรดูแลเครื่องจักรกลไฟฟ้า
วิศวกรระบบโทรคมนาคม
วิศวกรผู้จัดการอาคาร
วิศวกรระบบไฟฟ้ากำลัง
วิศวกรออกแบบแผ่นพิมพ์วงจร
วิศวกรด้านสมองกลฝังตัว
สร้างผลิตภัณฑ์
ที่ปรึกษาด้านพลังงาน
วิศวกรขายผลิตภัณฑ์ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
เป็นผู้ประกอบการ
ฯลฯ
ตัวอย่างสถานที่ทำงาน
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้านครหลวง
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเดิม)
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
บริษัทเอกชนผู้ประกอบการที่ใช้บริการด้านการสื่อสาร เครือข่ายโทรคมนาคม
บริษัทผลิตไฟฟ้าเอกชน
บริษัทสำรวจและผลิต ผลิตภัณฑ์ด้านปิโตเลียม
บริษัทผู้ประกอบการด้านปูนซีเมนต์
บริษัทเอกชนที่รับงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจากหน่วยงานของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ
บริษัทเอกชนที่ผลิต จำหน่าย ผลิตภัณฑ์ทางวิศวกรรมไฟฟ้า
โรงงานอุตสาหกรรม
บริษัทออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า ระบบเครือข่ายโทรคมนาคม
สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม เน้นหนักในด้านการสื่อสารโทรคมนาคมทุกรูปแบบ และให้มีความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย ทั้งการออกแบบวงจร อุปกรณ์การสื่อสาร การติดตั้งอุปกรณ์สื่อสารให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการจัดลำดับการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน และคำนึงถึงผู้เรียนเป็นสำคัญ การเรียนการสอนเริ่มตั้งแต่ขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้ด้านการสื่อสารอยู่เลย และรูปแบบการสอนยังทำให้ผู้ที่มีความรู้อยู่เดิมได้รับความรู้ใหม่ ๆ ที่น่าติดตามและทำให้เกิดการเรียนร่วมกันของนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มได้ โดยมีการจัดลำดับการเรียนดังนี้
ความรู้พื้นฐานทางการสื่อสาร คลื่น ความถี่ วงจรที่มีคุณสมบัติทางการสื่อสาร การสร้าง และออกแบบวงจรอย่างง่าย
การเรียนรู้คุณสมบัติของอุปกรณ์สื่อสาร การคำนวณเพื่อหาค่าตำแหน่งติดตั้งที่เหมาะสม
การออกแบบวงจร และอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูง
ได้รับการฝึกภาคปฏิบัติอย่างเข้มงวด และเข้าถึงการใช้งานอุปกรณ์ที่มีการใช้งานอยู่จริงในภาคอุตสาหกรรมจำนวนมาก และได้ทดสอบการวัดอุปกรณ์การสื่อสารที่ภาคเอกชนส่งเข้ามาทดสอบอย่างต่อเนื่อง
อาชีพที่รองรับ
วิศวกรโทรคมนาคม มีความเชี่ยวชาญด้านระบบสื่อสารระบบโครงข่ายโทรคมนาคม ทั้งการสร้างอุปกรณ์ระบบสื่อสาร การติดตั้งอุปกรณ์สื่อสารให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการใช้งานร่วมกับโปรแกรมควบคุมผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์และระบบสมัยใหม่ ทำให้มีบริษัทขนาดใหญ่จำนวนมากเปิดรับเข้าทำงานในหลายอัตราดังนี้
Production Supervisor
Maintenance Engineer
Quality Engineer
System Engineer
Implementation Engineer
R&D
Design Engineer
Flight Engineer
Sale Engineer
การประกอบอาชีพ
- วิศวกรติดตั้งและดูแลระบบการสื่อสาร เช่น บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด, บริษัท การสื่อสารโทรคมนาคม จำกัด, บริษัทไทยคม, บริษัท AIS, บริษัท DTEC, บริษัท Telecom Asia, บริษัท TT&T, บริษัท Ericsson, บริษัท Nokia และบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านโทรคมนาคมอีกมากมาย
- วิศวกรออกแบบ ติดตั้งและดูแลระบบสถานีวิทยุโทรทัศน์ อสมท ช่อง 9, สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 หรือประจำอยู่ที่สถานีทวนสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ และสถานีวิทยุต่างๆ ทั่วประเทศ
- วิศวกรดูแลระบบระบบสื่อสารสำหรับการบินพาณิชย์ เช่น บริษัท การบินไทย จำกัด, บริษัท วิทยุการบิน จำกัด หรือ สนามบินสุวรรณภูมิ
สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เน้นหนักไปที่การบูรณาการนำอุปกรณ์ทางไฟฟ้า มาออกแบบวงจรไฟฟ้าให้แก่อุปกรณ์อำนวยความสะดวกทุกชนิดในโลก ให้มีการใช้งานได้ประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยคณะวิศวกรรมสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ได้ทำการสอนอย่างเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนมีความเชี่ยวชาญระดับสูง โดยมีการเรียงลำดับการสอนดังนี้
กฎ และ ทฤษฎีทางวงจรไฟฟ้า
อุปกรณ์พื้นฐานของวงจรไฟฟ้า R resistor (ตัวต้านทาน), L Inductor (ตัวเหนี่ยวนำ), C Capacitor (ตัวเก็บประจุ) ให้ทราบความสามารถของแต่ละอุปกรณ์ การทำงานของแต่ละอุปกรณ์ และการนำอุปกรณ์เหล่านี้มาออกแบบเพื่อทำงานอย่างง่าย และ ทำงานเชิงประยุกต์
อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ และวงจรรวม (Active Device and IC) จำพวก Diode, Transistor, FET, Integrated Circuit ให้ทราบความสามารถของแต่ละอุปกรณ์ การทำงานของแต่ละอุปกรณ์ และการนำอุปกรณ์เหล่านี้มาออกแบบเพื่อทำงานอย่างง่ายและทำงานเชิงประยุกต์
ฝึกการออกแบบวงจรเพื่อทำงานตามโจทย์ที่กำหนด โดยประยุกต์ใช้อุปกรณ์พื้นฐาน อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ และ วงจรรวม มาทำงานร่วมกัน
ฝึกการมองปัญหาโดยรวบยอด และวิเคราะห์ สามารถแก้ไขปัญหา นำมาพิจารณาสร้างอุปกรณ์ด้วยวงจรไฟฟ้าที่ได้เรียนมา
จากที่กล่าวมาเมื่อทำการเรียนแล้วเสร็จนักศึกษาจะมีความสามารถในการออกแบบเครื่องใช้ไฟฟ้าได้หลากหลายชนิดตัวอย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ ตู้เติมเงินมือถือ เครื่องขายสินค้าหยอดเหรียญ เป็นต้น
อาชีพที่รองรับ
วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทำงานได้อย่างหลากหลายในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม ด้านการออกแบบและผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า ด้านควบคุมและซ่อมบำรุงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักรขนาดใหญ่ ทำให้มีความสามารถในการเข้ารับตำแหน่งงานได้หลายตำแหน่งดังนี้
Quality Engineer (วิศวกรคุณภาพ)
Production /Production Supervisor (ผู้ควบคุมการผลิต)
Maintenance Engineer (วิศวกรบำรุงรักษา)
Customer Engineer (วิศวกรผู้ดูแลและสื่อสารกับลูกค้า)
R&D Circuit Engineer (Research and Develope) (วิศวกรผู้วิจัยและพัฒนา)
Sale Engineer (วิศวกรผู้ดูแลการข่าย)
วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทำงานได้อย่างหลากหลายในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่วนและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำการออกแบบและผลิตแผ่นวงจรรวม อุตสาหกรรมอุปกรณ์หน่วยความจำและฮาร์ดดิสก์ที่มีฐานการผลิต
ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บริษัทด้านการสื่อสารและโทรคมนาคมที่ต้องการวิศวกรติดตั้งและดูแล
ระบบการสื่อสารที่กำลังขยายตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถทำงานเป็นวิศวกรการออกแบบและผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า วิศวกรควบคุมและซ่อมบำรุงในอุตสาหกรรม ที่มีบริษัทต่างๆ ทั้งของต่างชาติ และคนไทย รวมทั้ง SME ที่มีอยู่อย่างมากมาย โดยเหตุนี้สาขาวิชานี้จึงเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างกว้างขวาง ทั้งภาคเอกชน ราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ และยังสามารถประกอบอาชีพอิสระได้อีกด้วย
โอกาสทางการศึกษา หรือ โอกาสในการทำงาน
.วิศวกรงานระบบในโรงงานและอาคาร ทั้งในฐานะผู้ออกแบบ
ควบคุมการติดตั้ง หรือ บริหารการใช้งาน ในระบบไฟฟ้า
ระบบปรับอากาศ สื่อสารโทรคมนาคม ระบบควบคุมอัตโนมัติ
รวมถึงระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อม
.วิศวกรสนามในโครงการการก่อสร้างหรือผู้ออกแบบ
โครงสร้างอาคาร ระบบขนส่ง รวมถึงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
และสิ่งแวดล้อมของเมือง
.วิศวกรควบคุมออกแบบและบริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
หรือธุรกิจวิศวกรรมอื่น ๆ
.ผู
แสดงความคิดเห็น
อยากทราบว่า สาขาวิชาวิศวกรรมเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟ้า โทรคมนาคม ที่ใหนมีสอนบางหรอกครับ
ขอแสดงความนับถึงอย่างสูง สำหรํบคำตอบ และคำถามด้วยครับ
จากผู้ที่ต้องการแสวงหาความรู้