หากคุณเป็นคนที่รักการเขียนเรื่องสั้น มีสนใจในวิทยาศาสตร์-เทคโนโลยี และมีจินตนาการกว้างไกลถึงโลกที่จะเปลี่ยนไปด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โอกาสมาถึงคุณแล้วกับ “การประกวดเรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1” โดย องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย และสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมชูปถัมภ์ ร่วมกันจัดการประกวดแข่งขัน “เรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์” เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาผลงานเรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์ในสังคมไทย ซึ่งจะมีส่วนช่วยกระตุ้นให้เยาวชน และประชาชนเกิดการสื่อสารและสนใจในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น จึงขอเชิญชวนผู้ที่สนใจส่งผลงาน “เรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์” เข้าร่วมแข่งขัน ชิงรางวัลกว่าหนึ่งแสนหกหมื่นบาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ
ประเภทการประกวด และคุณสมบัติผู้เข้าประกวด
ประเภทการประกวด คุณสมบัติผู้เข้าประกวด
1. ประเภทมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย /อาชีวะศึกษาหรือการศึกษานอกระบบที่เทียบเท่า อายุระหว่าง 15-18 ปีบริบูรณ์ (นับถึงวันที่สมัคร)
2. ประเภทอุดมศึกษา
หรือเทียบเท่า
นิสิต/นักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า โดยผู้สมัครต้องมีอายุระหว่าง 18-25 ปี (นับถึงวันที่สมัคร) และต้องมีบัตรนักศึกษาซึ่งออกให้โดยสถาบันการศึกษาเพื่อยืนยันสถานภาพทางการศึกษา
3. ประเภทประชาชนทั่วไป ไม่จำกัดอายุ และ วุฒิการศึกษา
**ผู้ส่งผลงาน 1 คน สามารถส่งได้ 1 ผลงาน และ 1 ประเภทการประกวดเท่านั้น**
กติกาและเงื่อนไขการส่งผลงานเข้าประกวด
(1) ผู้สมัครต้องส่งงานเขียนของตนเองเป็นภาษาไทย ความยาวไม่ต่ำกว่า 7 หน้า และ ไม่เกิน 12 หน้ากระดาษ A4 (ไม่ต้องมีภาพประกอบ) โดยทั้งหมดต้องใช้รูปแบบตัวอักษร Angsana New ขนาด 16
(2) ผลงานที่ส่งเข้าประกวด จะต้องไม่เคยได้รับรางวัลจากการประกวดใดมาก่อนและต้องไม่เป็นผลงานที่ลอกเลียนแบบหรือละเมิดลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา
(3) ผู้สนใจสามารถส่งผลงานเข้าประกวดได้เพียงคนละ 1 ประเภท และ 1 ผลงานเท่านั้น
(4) ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
(5) ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด และเงื่อนไขต่าง ๆ ของการประกวดโดยไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้า
การส่งใบสมัครและผลงาน
1. ดาวน์โหลดใบสมัครทางเว็บไซต์ www.nsm.or.th
2. สามารถส่งใบสมัครและผลงานได้ 3 ช่องทาง ได้แก่
ช่องทางที่ 1 ทางอีเมล์: scicomnsm@gmail.com โดยต้องได้รับอีเมล์ตอบกลับจาก ผู้จัดจึงถือว่าเสร็จสมบูรณ์
ช่องทางที่ 2 ทางไปรษณีย์ โดยจ่าหน้าซองถึง
กองการสื่อสารวิทยาศาสตร์ สำนักพัฒนาความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์
ที่อยู่: องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
เทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
วงเล็บมุมซองว่า “โครงการประกวดเรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์
ช่องทางที่ 3 ส่งด้วยตัวเอง ที่กองการสื่อสารวิทยาศาสตร์
สำนักพัฒนาความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ เทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
หมดเขตรับผลงานวันศุกร์ที่ 1 เมษายน 2559
สำหรับการส่งทางไปรษณีย์จะนับจากวันที่ประทับตราไปรษณีย์เป็นสำคัญ
เกณฑ์การพิจารณาใบสมัครและเกณฑ์การตัดสินรางวัล
1. คุณสมบัติของผู้สมัครต้องตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในแต่ละประเภท โดยพิจารณาจากใบสมัครและ
เอกสารและหลักฐานที่ใช้ในการสมัคร
2. แก่นของเรื่องแสดงให้เห็นถึงความเป็นเรื่องสั้นวิทยาศาสตร์/ มีแนวคิดและสอดแทรกประเด็นทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. พิจารณาจากการนำเสนอแนวความคิดสร้างสรรค์เชิงวิทยาศาสตร์ / ชั้นเชิงในการนำเสนอ /คุณค่าทางวรรณศิลป์
4. ผู้ส่งผลงาน 1 คน สามารถส่งได้ 1 ผลงาน และ 1 ประเภทการประกวดเท่านั้น มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขัน
5. คณะกรรมการตัดสิน ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่ให้รางวัลในกรณีผลงานที่ส่งเข้าประกวดไม่ถึงเกณฑ์
มาตรฐานที่กำหนดขึ้น และการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
6. หากมีกรณีละเมิดลิขสิทธิ์ คณะผู้จัดการประกวดขอสงวนสิทธิ์ยกเลิกการให้รางวัลต้นฉบับดังกล่าว และเจ้าของผลงานจะต้องรับผิดชอบต่อการฟ้องร้องและจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง
7. ผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับโอกาสพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ผลงาน โดยลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์ครั้งแรกเป็นของคณะผู้จัดการประกวด
8. ผลงานที่ส่งเข้าประกวดต้องไม่เคยตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อน
9. เนื้อหาไม่ขัดต่อความมั่นคง ความสงบเรียบร้อยของชาติและศีลธรรมอันดี
10. กรณีใช้นามปากกาหรือนามแฝง ผู้ส่งผลงานต้องแจ้งชื่อและที่อยู่จริงที่สามารถติดต่อ ได้สะดวก
11. ผู้ส่งผลงานเข้าประกวดจะต้องทำสำเนาต้นฉบับเก็บไว้เอง เนื่องจากผู้จัดการประกวดจะไม่คืนต้นฉบับให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ
ประกาศผลการตัดสิน
วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม 2559 ทาง www.nsm.or.th (พร้อมกันทุกประเภท)
รางวัล
แบ่งเป็น 3 ประเภท ตามเกณฑ์ผู้เข้าประกวด คือ
1. ประเภท มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- เรื่องสั้นวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 15,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 1 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 10,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 2 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 5,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รางวัลชมเชย จำนวน 2 รางวัล เงินทุนการศึกษา 2,000 บาท
2. ประเภท อุดมศึกษาหรือเทียบเท่า
- เรื่องสั้นวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 15,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 1 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 10,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 2 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 5,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รางวัลชมเชย จำนวน 2 รางวัล เงินทุนการศึกษา 2,000 บาท
3. ประเภทประชาชนทั่วไป
- เรื่องสั้นวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม 1 รางวัล เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 1 จำนวน 1 รางวัล เงินรางวัล 25,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 2 จำนวน 1 รางวัล เงินรางวัล 20,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ
- รางวัลชมเชย จำนวน 2 รางวัล เงินรางวัล 5,000 บาท
** ผลงานชนะเลิศจะได้รับโอกาสพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคณะกรรมการ**
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 02 577 9999 ต่อ 1472,1473 (วรภร,จีรวรรณ)
cr. คุณขจรฤทธิ์ รักษา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10205208897532291&set=a.3278526332290.2123373.1541488149&type=3&theater
ขอ tag ห้องหว้ากอ วิทยาศาสตร์ด้วยนะคะ เผื่อว่า นักวิทยาศาสตร์ท่านใดสนใจจะเขียนเรื่องสั้นแนวนี้กันบ้าง
การประกวดเรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1
ประเภทการประกวด และคุณสมบัติผู้เข้าประกวด
ประเภทการประกวด คุณสมบัติผู้เข้าประกวด
1. ประเภทมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย /อาชีวะศึกษาหรือการศึกษานอกระบบที่เทียบเท่า อายุระหว่าง 15-18 ปีบริบูรณ์ (นับถึงวันที่สมัคร)
2. ประเภทอุดมศึกษา
หรือเทียบเท่า
นิสิต/นักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า โดยผู้สมัครต้องมีอายุระหว่าง 18-25 ปี (นับถึงวันที่สมัคร) และต้องมีบัตรนักศึกษาซึ่งออกให้โดยสถาบันการศึกษาเพื่อยืนยันสถานภาพทางการศึกษา
3. ประเภทประชาชนทั่วไป ไม่จำกัดอายุ และ วุฒิการศึกษา
**ผู้ส่งผลงาน 1 คน สามารถส่งได้ 1 ผลงาน และ 1 ประเภทการประกวดเท่านั้น**
กติกาและเงื่อนไขการส่งผลงานเข้าประกวด
(1) ผู้สมัครต้องส่งงานเขียนของตนเองเป็นภาษาไทย ความยาวไม่ต่ำกว่า 7 หน้า และ ไม่เกิน 12 หน้ากระดาษ A4 (ไม่ต้องมีภาพประกอบ) โดยทั้งหมดต้องใช้รูปแบบตัวอักษร Angsana New ขนาด 16
(2) ผลงานที่ส่งเข้าประกวด จะต้องไม่เคยได้รับรางวัลจากการประกวดใดมาก่อนและต้องไม่เป็นผลงานที่ลอกเลียนแบบหรือละเมิดลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา
(3) ผู้สนใจสามารถส่งผลงานเข้าประกวดได้เพียงคนละ 1 ประเภท และ 1 ผลงานเท่านั้น
(4) ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
(5) ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด และเงื่อนไขต่าง ๆ ของการประกวดโดยไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้า
การส่งใบสมัครและผลงาน
1. ดาวน์โหลดใบสมัครทางเว็บไซต์ www.nsm.or.th
2. สามารถส่งใบสมัครและผลงานได้ 3 ช่องทาง ได้แก่
ช่องทางที่ 1 ทางอีเมล์: scicomnsm@gmail.com โดยต้องได้รับอีเมล์ตอบกลับจาก ผู้จัดจึงถือว่าเสร็จสมบูรณ์
ช่องทางที่ 2 ทางไปรษณีย์ โดยจ่าหน้าซองถึง
กองการสื่อสารวิทยาศาสตร์ สำนักพัฒนาความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์
ที่อยู่: องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
เทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
วงเล็บมุมซองว่า “โครงการประกวดเรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์
ช่องทางที่ 3 ส่งด้วยตัวเอง ที่กองการสื่อสารวิทยาศาสตร์
สำนักพัฒนาความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ เทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
หมดเขตรับผลงานวันศุกร์ที่ 1 เมษายน 2559
สำหรับการส่งทางไปรษณีย์จะนับจากวันที่ประทับตราไปรษณีย์เป็นสำคัญ
เกณฑ์การพิจารณาใบสมัครและเกณฑ์การตัดสินรางวัล
1. คุณสมบัติของผู้สมัครต้องตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในแต่ละประเภท โดยพิจารณาจากใบสมัครและ
เอกสารและหลักฐานที่ใช้ในการสมัคร
2. แก่นของเรื่องแสดงให้เห็นถึงความเป็นเรื่องสั้นวิทยาศาสตร์/ มีแนวคิดและสอดแทรกประเด็นทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. พิจารณาจากการนำเสนอแนวความคิดสร้างสรรค์เชิงวิทยาศาสตร์ / ชั้นเชิงในการนำเสนอ /คุณค่าทางวรรณศิลป์
4. ผู้ส่งผลงาน 1 คน สามารถส่งได้ 1 ผลงาน และ 1 ประเภทการประกวดเท่านั้น มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขัน
5. คณะกรรมการตัดสิน ขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่ให้รางวัลในกรณีผลงานที่ส่งเข้าประกวดไม่ถึงเกณฑ์
มาตรฐานที่กำหนดขึ้น และการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
6. หากมีกรณีละเมิดลิขสิทธิ์ คณะผู้จัดการประกวดขอสงวนสิทธิ์ยกเลิกการให้รางวัลต้นฉบับดังกล่าว และเจ้าของผลงานจะต้องรับผิดชอบต่อการฟ้องร้องและจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง
7. ผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับโอกาสพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ผลงาน โดยลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์ครั้งแรกเป็นของคณะผู้จัดการประกวด
8. ผลงานที่ส่งเข้าประกวดต้องไม่เคยตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในสื่อใด ๆ มาก่อน
9. เนื้อหาไม่ขัดต่อความมั่นคง ความสงบเรียบร้อยของชาติและศีลธรรมอันดี
10. กรณีใช้นามปากกาหรือนามแฝง ผู้ส่งผลงานต้องแจ้งชื่อและที่อยู่จริงที่สามารถติดต่อ ได้สะดวก
11. ผู้ส่งผลงานเข้าประกวดจะต้องทำสำเนาต้นฉบับเก็บไว้เอง เนื่องจากผู้จัดการประกวดจะไม่คืนต้นฉบับให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ
ประกาศผลการตัดสิน
วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม 2559 ทาง www.nsm.or.th (พร้อมกันทุกประเภท)
รางวัล
แบ่งเป็น 3 ประเภท ตามเกณฑ์ผู้เข้าประกวด คือ
1. ประเภท มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
- เรื่องสั้นวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 15,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 1 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 10,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 2 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 5,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รางวัลชมเชย จำนวน 2 รางวัล เงินทุนการศึกษา 2,000 บาท
2. ประเภท อุดมศึกษาหรือเทียบเท่า
- เรื่องสั้นวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 15,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 1 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 10,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 2 จำนวน 1 รางวัล เงินทุนการศึกษา 5,000 บาท
พร้อมโล่เกียรติยศ
- รางวัลชมเชย จำนวน 2 รางวัล เงินทุนการศึกษา 2,000 บาท
3. ประเภทประชาชนทั่วไป
- เรื่องสั้นวิทยาศาสตร์ยอดเยี่ยม 1 รางวัล เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 1 จำนวน 1 รางวัล เงินรางวัล 25,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ
- รองชนะเลิศ อันดับ 2 จำนวน 1 รางวัล เงินรางวัล 20,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ
- รางวัลชมเชย จำนวน 2 รางวัล เงินรางวัล 5,000 บาท
** ผลงานชนะเลิศจะได้รับโอกาสพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคณะกรรมการ**
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 02 577 9999 ต่อ 1472,1473 (วรภร,จีรวรรณ)
cr. คุณขจรฤทธิ์ รักษา
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10205208897532291&set=a.3278526332290.2123373.1541488149&type=3&theater
ขอ tag ห้องหว้ากอ วิทยาศาสตร์ด้วยนะคะ เผื่อว่า นักวิทยาศาสตร์ท่านใดสนใจจะเขียนเรื่องสั้นแนวนี้กันบ้าง