สวัสดีครับ เรื่องวันนี้ที่จริงก็ไม่ได้ซับซ้อนมากมายหรอกครับ กฏของโอห์ม ที่จะนำมาใช้งานพอดีมีเพื่อนสมาชิกในเฟสบุ๊คถามในเพจแลัวบังเอินเกิดคำตอบออกมา 2 แบบ คือทางฝั่งของผมและฝั่งของเพื่อนสมาชิก คือมีตัวต้านทาน ขนาด 3.4 โอห์ม กำลังสูงสุด 600 วัตต์ ต่ออนุกรมกัน 8 ตัว จำนาน 2 ชุด จากนั้นนำ 2 ชุด มาขนานกันอยากทราบว่า กำลังสูงสุดที่ชุดนี้รับได้เท่าไร ซึ่งทางผมคำนวณออกมา 9600 วัตต์ ส่วนทางเพื่อนสมาชิกส่วนมากตอบ 1200 วัตต์ แต่ผมคำนวณและจำลองยังไงก็ได้ 9600 วัตต์ ถ้าสมมุติใช้ค่ารับภาระสูงสุดของเพื่อน 1200 วัตต์ กำลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนตัวต้านทานนั้นคำนวณได้ เจ็ดสิบกว่าวัตต์เท่านั้น ซึ่งไม่น่าจะคุ้มที่จะใช้ตัวต้านทานที่ทนกำลังถึง 600 วัตต์(ตัดเรื่องระบายความร้อนออกไปก่อนนะครับ) แต่ถ้าคิดที่ 9600 วัตต์ กำลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะอยู่ที่ 600 วัตต์พอดี แต่คุยกันไปยาวๆก็ยังจูนไม่ตรงกัน จึงอยากจะมาถามพี่ๆว่าตัวต้านทานรวมทั้งหมด รับภาระสูงสุดเท่าไร ครับ
วงจรนี้ครับ (ผมขอปิดผลจำลองก่อนนะครับ) ตัวต้านทาน 3.4 Ohm 600 W
ในส่วนที่ผมเขียนอธิบายวิธีการที่ผมเข้าใจ(ถ้าไม่ถูกต้องรบกวนแนะนำผมด้วยนะครับ แฮะๆๆ มือใหม่ๆ)
มีต่อครับ
ต่ออีก
ต่ออีก
ต่ออีกใบ
ครับ ส่วนกรณีที่กำลังที่ตัวต้านทานไม่เท่ากันและค่าต่างๆไม่เท่ากัน ยกตัวอย่างการคำนวณใว้เบื้องต้นครับตามแนวความเข้าใจ โดยอ้างจากกฏของโอห์ม (ถ้าผมเข้าใจผิดก็รบกวนแนะนำด้วยนะครับ)
ในวงจรแรก ผมคำนวณได้ 9600 วัตต์ พี่ๆเพื่อนๆได้เท่าไรบ้างครับ ถ้าได้นอกเหนือจาก 9600 วัตต์ รบกวนอธิบาย หรือ มีกฏ สูตร เขียนหรือแนบลงด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ
เรื่อง ง่ายแต่ไม่จบง่ายๆติดค้างมาจากเฟส การคำนวนกำลังไฟฟ้าสูงสุดของวงจรตัวต้านทาน (อยากทราความคิดเห็น พร้อมอธิบาย)
วงจรนี้ครับ (ผมขอปิดผลจำลองก่อนนะครับ) ตัวต้านทาน 3.4 Ohm 600 W
ในส่วนที่ผมเขียนอธิบายวิธีการที่ผมเข้าใจ(ถ้าไม่ถูกต้องรบกวนแนะนำผมด้วยนะครับ แฮะๆๆ มือใหม่ๆ)
มีต่อครับ
ต่ออีก
ต่ออีก
ต่ออีกใบ
ครับ ส่วนกรณีที่กำลังที่ตัวต้านทานไม่เท่ากันและค่าต่างๆไม่เท่ากัน ยกตัวอย่างการคำนวณใว้เบื้องต้นครับตามแนวความเข้าใจ โดยอ้างจากกฏของโอห์ม (ถ้าผมเข้าใจผิดก็รบกวนแนะนำด้วยนะครับ)
ในวงจรแรก ผมคำนวณได้ 9600 วัตต์ พี่ๆเพื่อนๆได้เท่าไรบ้างครับ ถ้าได้นอกเหนือจาก 9600 วัตต์ รบกวนอธิบาย หรือ มีกฏ สูตร เขียนหรือแนบลงด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ