ธรรมเทศนาแสดงถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ โดยพุทธทาสภิกขุ

ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคลพระชนมสุขทุกประการ จงมีแดสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภาร พระองคสมเด็จพระปรมินทรธรรมิก มหาราชาธิราชเจาผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ บัดนี้ จักรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในธรรมวิจักขณกถา ฉลองพระเดชพระคุณประดับพระปญญาบารมี, ถารับพระราชทานถวายวิสัชนาไป มิไดตองตามโวหารอรรถาธิบาย ในพระธรรมเทศนาบทใดบทหนึ่งก็ดี ขอเดชะพระเมตตาคุณ พระกรุณาคุณ และพระขันติคุณ ไดทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานอภัยแกอาตมะผูมีสติปญญานอย ขอถวายพระพร.

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ฯ
โย ธัมมัง ปสสะติ, โส มัง ปสสะติ โย ธัมมัง นะ ปสสะติ, โส มัง นะ ปสสะตี-ติ ธัมโม
สักกัจจัง โสตัพโพติ ฯ

ณ บัดนี้ จักไดรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในธรรมวิจักขณกถา ดำเนินความตามวาระพระบาลี ดังที่ไดยกขึ้นไวเป็นนิกเขปบทเบื้องตนวา โย ธัมมัง ปสสะติ โส มัง สสะติ ฯลฯ เป็นอาทิ ซึ่งมีใจความวา “ผู้ใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นเราตถาคต ; ผูใดไมเห็นธรรม ผู้นั้นไมเห็นเราตถาคต” ดังนี้เป็นตน เพื่อเป็นธรรมเทศนา เนื่องในโอกาสพระราชกุศลวิสาขบูชา ตามพระราชประเพณี

ก็แล ในการกุศลวิสาขบูชานี้ พุทธบริษัททั้งหลาย ยอมถวายการบูชาอันสูงสุดดวยกาย วาจา ใจ แดสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจา. การบูชาดวยกาย ก็คือการเดินเวียนประทักษิณเป็นตน, การบูชาดวยใจ ก็คือการนอมระลึกถึงพระคุณของสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น อยูตลอดเวลาแหงการกระทำวิสาขบูชา. ก็แตวาการกระทำทั้งสามประการนี้ จักสำเร็จประโยชนเต็มที่ได ก็ดวยการเห็นธรรมตามที่พระพุทธองคไดตรัสไววา “ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต” ดังที่กลาวแลวขางตนนั้นเอง. ดังนั้น จะไดถวายวิสัชนาโดยพิสดาร ในขอความอันเกี่ยวกับคำวา “ธรรม” ในที่นี้.

จากพุทธภาษิตนั้น ยอมแสดงใหเห็นไดโดยประจักษอยู่แลววา “พระพุทธองคจริงนั้น คือสิ่งที่เรียกวา ธรรม” หรือ “ธรรม นั่นแหละ คือพระพุทธองค องคจริง” ,ดวยเหตุนั้นเอง พระพุทธองคจึงไดตรัสวา ผู้ใดไมเห็นธรรม ผูนั้นไมเห็นเราตถาคต ; ตอเมื่อเห็นธรรม จึงชื่อวาเห็นตถาคต. ก็แล ในสมัยที่พระพุทธองคยังทรงพระชนมชีพอยูนั้น พระสรีระรางกายของพระองคได้ต้องอยูในฐานะเป็นตัวแทนแหงธรรม สำหรับรับเครื่องสักการบูชา แหงสัตวโลกทั้งหลายเป็นตน ครั้นพระองคเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว ก็มีพระสารีริกธาตุ คือธาตุอันเนื่องกับพระสรีระนั้น ไดเหลืออยู่เป็นตัวแทนแหงธรรมสืบไปตลอดกาลนาน ดังเชนพระสารีริกธาตุแหงนี้ ที่พุทธบริษัททั้งหลาย มีสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเป็นประธาน ไดกระทำสักการบูชา เสร็จสิ้นไปเมื่อสักครูนี้. ขอนี้ สรุปความไดวา พระพุทธองค พระองคจริงนั้น ยังอยูตลอดกาล และเป็นสิ่งเดียวกันเสมอไป , ไดแกสิ่งที่เรียกวา “ธรรม” สวนนิมิต หรือตัวแทนแหงธรรมนั้นเปลี่ยนแปลงไปไดตามควรแกสถานะ, คือจะเป็นพระสรีระของพระองคโดยตรงก็ได, หรือจะเป็นพระสารีริกธาตุก็ได, หรือจะเป็นอุทเทสิกเจดียมีพระพุทธรูปเป็นตน ก็ได, แตทั้งหมดนั้น ลวนแตมีความหมายอันสำคัญ สรุปรวมอยู่ที่สิ่งที่เรียกวา “ธรรม” นั่นเอง.

คำวา “ธรรม” คำนี้ เป็นคำพูดที่ประหลาดที่สุดในโลก เป็นคำที่แปลเป็นภาษาอื่นไมได ไดมีผูพยายามแปลคำคำนี้เป็นภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษเป็นตน ออกไปตั้ง ๒๐–๓๐ คำ ก็ยังไมไดความหมายครบ หรือตรงตามความหมายของภาษาบาลี หรือภาษาของพุทธศาสนา . สวนประเทศไทยเรานี้โชคดี ที่ไดใชคำคำนี้ เสียเลย โดยไมตองแปลเป็นภาษาไทย, เราจึงไดรับความสะดวก ไมยุงยากลำบากเหมือนพวกที่พยายามจะแปลคำคำนี้เป็นภาษาของตนๆ

คำวา “ธรรม” เป็นคำสั้นๆ เพียงพยางคเดียว แตมีความหมายกวางขวางลึกซึ้ง นามหัศจรรยอยางยิ่ง เพียงไร เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาดูอยางยิ่ง ดังตอไปนี้. ในภาษาบาลี หรือภาษาพุทธศาสนาก็ตาม คำวา “ธรรม” นั้น ใชหมายถึงสิ่งทุกสิ่ง ไมยกเวนสิ่งใดเลย, ไมวาจะเป็นสิ่งดี สิ่งชั่ว หรือสิ่งไมดีไมชั่ว ก็รวมอยู่ในคำวา “ธรรม” ทั้งหมด ดังพระบาลีวา กุสลา ธัมมา, อกุสลา ธัมมา, อัพยากะตา ธัมมา, เป็นอาทิ.

ลักษณะเชนที่กลาวนี้ของคำวา “ธรรม” ยอมเป็นอยางเดียวกันกับคำวา “พระเป็นเจา” แหงศาสนาที่มีพระเป็นเจา เชนศาสนาคริสเตียนเป็นตน. คำคำนั้นเขาใหหมายความวา สิ่งทุกสิ่ง รวมอยู่ในพระเป็นเจาเพียงสิ่งเดียว. ดังนั้นแมในวงพุทธศาสนาเรา ถาจะกลาวกันอยางใหมีพระเป็นเจากะเขาบางแลว เราก็มีสิ่งที่เรียกวา “ธรรม” นี้เอง ที่ตั้งอยูในฐานะเป็น “พระเป็นเจา” อยางครบถวนสมบูรณ. ทั้งนี้ก็เพราะวาสิ่งที่เรียกวา “ธรรม” ในพุทธศาสนานั้นหมายถึงสิ่งทุกสิ่งจริงๆ. เพื่อใหเห็นไดอยางแจงชัดและโดยงาย วาสิ่งที่เรียกวา “ธรรม” หมายถึงสิ่งทุกสิ่ง อยางไรนั้น เราอาจจะทำการจำแนกไดวา “ธรรม” หมายถึงสิ่งเหลานี้ คือ

(๑) ธรรมชาติทุกอยางทุกชนิด ลวนแตเรียกในภาษาบาลีวา “ธรรม” หรือธรรมในฐานะที่เป็นตัวธรรมชาติ นั่นเอง.
(๒) กฎของธรรมชาติ ซึ่งมีประจำอยูในธรรมชาติเหลานั้น ก็เรียกในภาษาบาลีวา “ธรรม” อีกเหมือนกัน, นี้คือ ธรรม ในฐานะที่เป็นกฎของธรรมชาติ, และมีความหมายเทากันกับสิ่งที่เรียกวา “พระเป็นเจา” ในศาสนาที่ถือวามีพระเป็นเจาอยูอยางเต็มที่แลว.
(๓) หนาที่ตางๆ ที่มนุษยจะตองประพฤติหรือกระทำ ในทางโลก หรือทางธรรมก็ตาม, นี้ก็เรียกโดยภาษาบาลีวา ธรรม อีกเหมือนกัน. มนุษยตองประพฤติใหถูกใหตรงตามกฎของธรรมชาติ จึงจะไมเกิดความทุกขขึ้นมา. มนุษยสวนมากสมัยนี้หลงใหลในทางวัตถุมากเกินไป ไมสนใจสิ่งที่เป็น ความสุขทางนามธรรม ขอนี้เป็นการกระทำที่ผิดกฎธรรมชาติ จึงเกิดการยุงยากนานาประการที่เรียกกันวา “วิกฤติกาล” ขึ้นในโลก จนแกกันไมหวาดไมไหว. มนุษยสมัยนี้ ตองการสิ่งประเลาประโลมใจ แตในทางวัตถุ, ไมตองการธรรมเป็นเครื่องประเลาประโลมใจ เหมือนคนในครั้งพุทธกาล. และยิ่งไปกวานั้นอีกก็คือ มนุษยสมัยนี้ มีการกักตุนเอาไวเป็นของตัว หรือพวกของตัว มากเกินไป จนผิดกฎของธรรมชาติ, จึงไดเกิดลัทธิอันไมพึงปรารถนาขึ้นมาในโลกอยางที่ไมเคยเกิดมาแตกอน ดังนี้เป็นตน. ขอนี้ เป็นตัวอยางของการที่มนุษย ประพฤติหนาที่ของตน อยางไมสมคลอยกันกับกฎของธรรมชาติ, หรือเรียกอีกอยางหนึ่งก็คือ ประพฤติผิดตอธรรมฝายที่จะเป็นไปเพื่อดับทุกข. แตไดเป็นไปในฝายที่จะสรางความทุกขขึ้นมาในโลก อยางไมมีที่ส้ินสุด. นี้อยางหน่ึ่ง.
(๔) ผลของการทำหนาที่ หรือการปฏิบัติ. ที่เกิดขึ้นตามกฎของธรรมชาติ เชนความทุกข ความสุข หรือการบรรลุมรรคผลนิพพาน หรือแมที่สุดแตความเป็นพระพุทธเจา ของพระพุทธองคก็ดี ซึ่งก็ลวนแตเป็นผลของการทำหนาที่ หรือการปฏิบัติไปทั้งนั้น, ทั้งหมดนี้ ทุกชนิดทุกอยาง ก็ลวนแตเรียกโดยภาษาบาลีวา “ธรรม” อีกเหมือนกัน. ทั้งหมดนี้ คือความหมายอันกวางขวางของคำวา “ธรรม” ซึ่งมีอยูเป็นประเภทใหญๆ ๔ ประเภท.

สรุปแลวคำวา “ธรรม” เพียงพยางคเดียว หมายความไดถึง ๔ อยาง คือ หมายถึง ตัวธรรมชาติก็ได, หมายถึงกฎของธรรมชาติก็ได, หมายถึงหนาที่ ที่มนุษยตองทำใหถูกตามกฎของธรรมชาติก็ได, และหมายถึงผลตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหนาที่นั้นๆ ก็ได. นับวาเป็นคำพูดคำหนึ่ง ที่ประหลาดที่สุดในโลก, และไมอาจจะแปลเป็นภาษาอื่นได ดวยคำเพียงคำเดียว ดังที่กลาวแลวขางตน.เมื่อสิ่งที่เรียกวาธรรม มีมากมายมหาศาลอยางนี้ ปญหาจะเกิดขึ้นมาวา คนเราจะรูธรรม หรือเห็นธรรม ไดทั้งหมดอยางไรกัน ? เกี่ยวกับขอนี้ พระพุทธองคไดตรัสไวเองแลววา เราอาจจะรู้ไดทั้งหมด และปฏิบัติไดทั้งหมด ในสวนที่จำเป็นแกมนุษยหรือเทาที่มนุษยจะตองเขาเกี่ยวของดวย. สวนที่เหลือนอกนั้นไมตองสนใจเลยก็ได, ขอนี้ พระองคไดตรัสไววา ธรรมที่ตถาคตไดตรัสรูทั้งหมดนั้น มีปริมาณเทากับใบไมหมดทั้งปา , สวนธรรมที่นำมาสอนคนทั่วไปนั้น มีปริมาณเทากับใบไมกำมือเดียว. ขอนี้หมายความวา ทรงนำมาสอนเทาที่จำเป็นแกการดับทุกขโดยตรง เทานั้น. ธรรมที่ทรงนำมาสอนนั้น แมจะกลาวกันวา มีถึง ๘๔๐๐๐ ขอ หรือ ๘๔๐๐๐ ธรรมขันธก็ตาม ก็ยังสรุปลงไดในคำพูดเป็นประโยคส้ั้นๆ เพียงประโยคเดียววา “สัพเพ ธัมมา นาลัง อภินิเวสายะ” ซึ่งแปลวา “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง อันใครๆ ไมควรสำคัญ ม่ันหมาย วา ตัวตน หรือของตน” ดังนี้. การรูขอนี้ คือการรู้ธรรมทั้งหมด, การปฏิบัติขอนี้ คือการปฏิบัติธรรมทั้งหมด, ในพระพุทธศาสนา, และเป็นการมีชัยชนะเหนือความทุกขทั้งหมดได เพราะเหตุนั้น, ไมวาจะเป็นทุกขสวนบุคคล หรือเป็นทุกขของโลกโดยสวนรวม ก็ตาม. ถาผู้ใดเห็นธรรมสวนนี้โดยประจักษ ผู้นั้นชื่อวา เป็นผู้เห็นองคพระตถาคตพระองคจริงโดยแทจริง.
แสดงความคิดเห็น
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ  ศาสนาพุทธ ปฏิบัติธรรม
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่