สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 7
มันคือ สายเคเบิลใยแก้วนำแสง
ที่มันต้องม้วนไว้เพราะ มันมีมาตราฐานปกป้องกรณี เกิดอุบัติเหตุ สายขาด จะได้ ไม่ต้อง มาลากใหม่
งง แล้ว ทำไม สายทองแดงไม่ต้อง เผื่อ แบบสายใยแก้ว
เพราะ ว่า การเผื่อสาย หากเกิด อุบัติเหตุ ถ้าไม่เผื่อเลย ก็เบิกสายที่ เก็บไว้ สร้างจุดต่อ ขึ้น สองจุด
แต่ถ้าเผื่อไว้ เวลาซ่อม ก็ ทอยที่ม้วนไว้ออกมา หาที่เหมาะ ๆ สร้างจุดต่อใหม่ ขึ้นเพียงจุดเดียว
งง
ทำไมต้องจุดเดียว สองจุดแบบสายทองแดง แล้วไม่ต้องเผื่อไม่ได้เหรอ?
สายใยแก้ว มีค่าดัชนีจำเพาะ ของตัวมันเอง ในแต่ละม้วน
หากนำสายที่ ดัชนี ที่ใกล้เคียงแต่ ไม่เท่ากัน มาต่อ ค่าความสูญเสีย (-dB) จะมากขึ้น
หากจุดต่อมากขึ้น ค่าความสูญเสีย มันก็มากขึ้น ถ้ามากจนเกิน ความสามารถ ของอุปกรณ์ ก็จะสูญเสียข้อมูล ไป
สายเคเบิลใยแก้ว ไม่ใช่สายเน็ท จะพูดแบบนั้นก็ใช่
มันมีหน้าที่ เชื่อมต่อ ระหว่าง nodes และ nodes นั้นๆ อาจจะเป็น สถานีฐานมือถือ หรือ node ของ การให้บริการ internet หรือ
การให้บริการตรง FTTx , FTTH
ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ทำไมไม่มีสายรกๆ แบบไทย?
มันมีหลายเหตุผล
1/ ระบบการจัดการ เช่น กฏหมาย บังคับให้ ทุก operators ควบรวม infrastructures จัดตั้งเป็น บริษัท เดียว ขึ้นดูแล
คหสต. เงินที่ กสทช ได้จากการประมูลควรนำไปใช้ในเรื่องดังกล่าว เงินที่เสียไป ก็ยังจะได้กลับมาในอนาคตในรูปของค่าเช่า
2/ เมืองไทย ใครใคร่ทำ ก็ทำ อาจจะต้องของอนุญาติ จากเจ้าของเสา เจ้าของที่ บ้างแต่ก็ไม่ยาก
รถไฟ ก็มี เคเบิ้ล ในเขตของเค้า การไฟฟ้า ก็มี กรมทางก็มี ต่างคนต่างมี ต่างคนต่างสร้าง มันก็เลยเยอะอย่างเห็น
3/ เมืองอื่น อาจจะใช้ระบบ ฝังดิน(ทราย) เช่น ฮ่องกง ถ้าไปเที่ยว ลองไปดู เค้าจะมีสายสี ชมพู สีแดง ฯลฯ ไม่ใช่สีดำเดียวแบบเรา
ของเราใช้แบบร้อยท่อ ซึ่งก็ ยากที่ จะขอทำเพิ่ม เพราะการจราจร
ยาวไปแล้ว ไม่น่าอ่าน พอก่อน
ที่มันต้องม้วนไว้เพราะ มันมีมาตราฐานปกป้องกรณี เกิดอุบัติเหตุ สายขาด จะได้ ไม่ต้อง มาลากใหม่
งง แล้ว ทำไม สายทองแดงไม่ต้อง เผื่อ แบบสายใยแก้ว
เพราะ ว่า การเผื่อสาย หากเกิด อุบัติเหตุ ถ้าไม่เผื่อเลย ก็เบิกสายที่ เก็บไว้ สร้างจุดต่อ ขึ้น สองจุด
แต่ถ้าเผื่อไว้ เวลาซ่อม ก็ ทอยที่ม้วนไว้ออกมา หาที่เหมาะ ๆ สร้างจุดต่อใหม่ ขึ้นเพียงจุดเดียว
งง
ทำไมต้องจุดเดียว สองจุดแบบสายทองแดง แล้วไม่ต้องเผื่อไม่ได้เหรอ?
สายใยแก้ว มีค่าดัชนีจำเพาะ ของตัวมันเอง ในแต่ละม้วน
หากนำสายที่ ดัชนี ที่ใกล้เคียงแต่ ไม่เท่ากัน มาต่อ ค่าความสูญเสีย (-dB) จะมากขึ้น
หากจุดต่อมากขึ้น ค่าความสูญเสีย มันก็มากขึ้น ถ้ามากจนเกิน ความสามารถ ของอุปกรณ์ ก็จะสูญเสียข้อมูล ไป
สายเคเบิลใยแก้ว ไม่ใช่สายเน็ท จะพูดแบบนั้นก็ใช่
มันมีหน้าที่ เชื่อมต่อ ระหว่าง nodes และ nodes นั้นๆ อาจจะเป็น สถานีฐานมือถือ หรือ node ของ การให้บริการ internet หรือ
การให้บริการตรง FTTx , FTTH
ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ทำไมไม่มีสายรกๆ แบบไทย?
มันมีหลายเหตุผล
1/ ระบบการจัดการ เช่น กฏหมาย บังคับให้ ทุก operators ควบรวม infrastructures จัดตั้งเป็น บริษัท เดียว ขึ้นดูแล
คหสต. เงินที่ กสทช ได้จากการประมูลควรนำไปใช้ในเรื่องดังกล่าว เงินที่เสียไป ก็ยังจะได้กลับมาในอนาคตในรูปของค่าเช่า
2/ เมืองไทย ใครใคร่ทำ ก็ทำ อาจจะต้องของอนุญาติ จากเจ้าของเสา เจ้าของที่ บ้างแต่ก็ไม่ยาก
รถไฟ ก็มี เคเบิ้ล ในเขตของเค้า การไฟฟ้า ก็มี กรมทางก็มี ต่างคนต่างมี ต่างคนต่างสร้าง มันก็เลยเยอะอย่างเห็น
3/ เมืองอื่น อาจจะใช้ระบบ ฝังดิน(ทราย) เช่น ฮ่องกง ถ้าไปเที่ยว ลองไปดู เค้าจะมีสายสี ชมพู สีแดง ฯลฯ ไม่ใช่สีดำเดียวแบบเรา
ของเราใช้แบบร้อยท่อ ซึ่งก็ ยากที่ จะขอทำเพิ่ม เพราะการจราจร
ยาวไปแล้ว ไม่น่าอ่าน พอก่อน
แสดงความคิดเห็น
สายไฟที่ม้วนๆกันไว้น่ะ เพื่ออะไรครับ