หลายคนคงรู้กันอยู่แล้วว่า ตอนนี้ บ้านเรากำลังจะต้องการโรงไฟฟ้าเพิ่มเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการ ของประชากรที่จะเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งในกลุ่ม AEC ก็มีแผนพัฒนาเรื่องของพลังงานด้วย จากรูปนี้ จะเห็นว่า 3 ใน 4 ที่เป็นพลังงานความรู้ เค้าใช้ ถ่านหินกันทั้งนั้น
ตรงนี้แหละครับ ที่พวกพี่ๆ NGO เค้ากลัวว่าถ้าไทยทำได้เค้าจะโดนตัดงบมืดมั้งนะครับ เลยพยามหาเอาข้อมูลมั่วๆ จากปีมะโว้ มาบอกคนที่คัดค้าน และมาปลุกปั่น ซึ่งจริงๆแล้ว เทคโนโลยี ที่เค้าใช้ในการผลิตโรงไฟฟ้าถ่านหินให้สะอาด มันมีมาสักพักแล้ว แล้วเค้าก็ใช้กันอย่างแพร่หลายด้วยครับ เป็นไงมาดูกัน
โรงไฟฟ้าแบบ Supercritical (SC) และ ultra-supercritical (USC) ช่วยลดการปล่อยคาร์บอนได้จำนวนมาก ซึ่งช่วยบรรเทาภาวการณ์เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่โรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด ยังจำเป็นต้องมีการเพิ่มวิธีการกักเก็บคาร์บอน หรือที่เรียกว่า carbon capture and storage (CCS) เทคโนโลยี CCS (จำชื่อนี้ไว้ให้ดีนะครับ )นี้ช่วยให้สามารถกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงไฟฟ้าถ่านหินได้ถึงร้อยละ 90 ได้เยอะมากๆ ไมตามจากเพจ NGO ถึงบอกว่าอันตรายจัง) ซึ่งจะต้องถูกขนส่งไปเก็บยังแหล่งที่เหมาะสม โดยถูกฉีดอัดลงใต้ดิน และมีการควบคุมตรวจสอบว่าก๊าซไม่ได้กลับออกมาสู่บรรยากาศ ขณะนี้ เราสามารถนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ประโยชน์ได้ก่อนถูกกักเก็บ โดยมีการอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปยังฐานขุดเจาะน้ำมันเก่าเพื่อเพิ่มแรงดันในการผลิต ทำให้สามารถขุดเจาะน้ำมันได้เพิ่มขึ้น (แจ๋วไปเลย)
โรงไฟฟ้าต้นแบบที่ทดลองใช้เทคโนโลยี CCS นี้คือโรงไฟฟ้า Boundary Dam ในประเทศแคนาดา ซึ่งเริ่มเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าเมื่อตุลาคม 2014 และยังมีการพัฒนาโรงไฟฟ้าอีกหลายๆ โรงให้ใช้เทคโนโลยีนี้ด้วย (ต่างประเทศ เค้าเริ่มใช้เทคโนโลยีนี้กันอยู่นะครับพี่ NGO) แต่เทคโนโลยี CCS ยังพัฒนาไม่ทันโรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาดอื่นๆ สิ่งที่ต้องเร่งลงมือทำในขณะนี้ คือการกำหนดราคาคาร์บอน การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าที่ปล่อยคาร์บอนต่ำ และการสนับสนุนให้มีการสำรวจหาแหล่งกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์
โรงไฟฟ้า Boundary Dam ประเทศแคนาดา ที่มารูปภาพ www.epcmworld.com
แล้วมันทำให้สะอาดได้ยังไง ไอ้โรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาดเนี้ย
โรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยีนี้เป็นโรงไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง ปล่อยก๊าซคาร์บอนในระดับต่ำ ตัวอย่างเช่น โรงไฟฟ้าเทคโนโลยีแบบ Supercritical (SC) และแบบ ultra-supercritical (USC) ซึ่งผลิตไอน้ำแบบแรงดันเหนือวิกฤติ ด้วยอุณหภูมิและแรงดันที่สูงนี้ทำให้การเผาไหม้ถ่านหินแบบ USC มีประสิทธิภาพถึงร้อยละ 45 ขณะที่โรงไฟฟ้าแบบเก่าที่ผลิตไอน้ำแบบแรงดันต่ำกว่าวิกฤติ (subcritical) จะมีค่าประสิทธิภาพอยู่ที่ประมาณร้อยละ 30-38 โรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยี USC จะสามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากถึงร้อยละ 30 และยังสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่าด้วยปริมาณถ่านหินที่เท่ากัน (ข้อมูลแบบนี้ผมไม่เคยเห็นจากเพจ NGO เลยจริงๆ)
เทคโนโลยีสะอาดสำหรับผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน ยังให้ความสำคัญกับการกำจัดมลภาวะอื่นๆด้วย เช่น มีการกำจัดออกไซด์ของไนโตรเจน โดยใช้แอมโมเนียทำปฏิกิริยากับก๊าซ (Selective Catalytic Reduction) เครื่องดักจับฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิต เครื่องดักจับไอปรอท และเทคโนโลยีอื่นๆที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดอออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจนและฝุ่นละอองต่างๆ อีกด้วยนะครับ
ดูรูปจะได้เข้าใจมากขึ้น
ส่วนตัวผมที่เอาข้อมูลมาแชร์ อยากนำเสนอให้ เพจของ NGO แชร์ข้อมูลในด้านที่พัฒนาบ้าง ไม่ใช้เอะอะค้านอย่างเดียว มันพาประเทศถ่อยหลังลงคลองครับ
อยากให้พี่NGO ได้อ่านสักนิด เกี่ยวกับโรงไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนต่ำมีศักยภาพพอที่จะช่วยลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์
ตรงนี้แหละครับ ที่พวกพี่ๆ NGO เค้ากลัวว่าถ้าไทยทำได้เค้าจะโดนตัดงบมืดมั้งนะครับ เลยพยามหาเอาข้อมูลมั่วๆ จากปีมะโว้ มาบอกคนที่คัดค้าน และมาปลุกปั่น ซึ่งจริงๆแล้ว เทคโนโลยี ที่เค้าใช้ในการผลิตโรงไฟฟ้าถ่านหินให้สะอาด มันมีมาสักพักแล้ว แล้วเค้าก็ใช้กันอย่างแพร่หลายด้วยครับ เป็นไงมาดูกัน
โรงไฟฟ้าแบบ Supercritical (SC) และ ultra-supercritical (USC) ช่วยลดการปล่อยคาร์บอนได้จำนวนมาก ซึ่งช่วยบรรเทาภาวการณ์เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่โรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด ยังจำเป็นต้องมีการเพิ่มวิธีการกักเก็บคาร์บอน หรือที่เรียกว่า carbon capture and storage (CCS) เทคโนโลยี CCS (จำชื่อนี้ไว้ให้ดีนะครับ )นี้ช่วยให้สามารถกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงไฟฟ้าถ่านหินได้ถึงร้อยละ 90 ได้เยอะมากๆ ไมตามจากเพจ NGO ถึงบอกว่าอันตรายจัง) ซึ่งจะต้องถูกขนส่งไปเก็บยังแหล่งที่เหมาะสม โดยถูกฉีดอัดลงใต้ดิน และมีการควบคุมตรวจสอบว่าก๊าซไม่ได้กลับออกมาสู่บรรยากาศ ขณะนี้ เราสามารถนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ประโยชน์ได้ก่อนถูกกักเก็บ โดยมีการอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปยังฐานขุดเจาะน้ำมันเก่าเพื่อเพิ่มแรงดันในการผลิต ทำให้สามารถขุดเจาะน้ำมันได้เพิ่มขึ้น (แจ๋วไปเลย)
โรงไฟฟ้าต้นแบบที่ทดลองใช้เทคโนโลยี CCS นี้คือโรงไฟฟ้า Boundary Dam ในประเทศแคนาดา ซึ่งเริ่มเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าเมื่อตุลาคม 2014 และยังมีการพัฒนาโรงไฟฟ้าอีกหลายๆ โรงให้ใช้เทคโนโลยีนี้ด้วย (ต่างประเทศ เค้าเริ่มใช้เทคโนโลยีนี้กันอยู่นะครับพี่ NGO) แต่เทคโนโลยี CCS ยังพัฒนาไม่ทันโรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาดอื่นๆ สิ่งที่ต้องเร่งลงมือทำในขณะนี้ คือการกำหนดราคาคาร์บอน การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าที่ปล่อยคาร์บอนต่ำ และการสนับสนุนให้มีการสำรวจหาแหล่งกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์
โรงไฟฟ้า Boundary Dam ประเทศแคนาดา ที่มารูปภาพ www.epcmworld.com
แล้วมันทำให้สะอาดได้ยังไง ไอ้โรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาดเนี้ย
โรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยีนี้เป็นโรงไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง ปล่อยก๊าซคาร์บอนในระดับต่ำ ตัวอย่างเช่น โรงไฟฟ้าเทคโนโลยีแบบ Supercritical (SC) และแบบ ultra-supercritical (USC) ซึ่งผลิตไอน้ำแบบแรงดันเหนือวิกฤติ ด้วยอุณหภูมิและแรงดันที่สูงนี้ทำให้การเผาไหม้ถ่านหินแบบ USC มีประสิทธิภาพถึงร้อยละ 45 ขณะที่โรงไฟฟ้าแบบเก่าที่ผลิตไอน้ำแบบแรงดันต่ำกว่าวิกฤติ (subcritical) จะมีค่าประสิทธิภาพอยู่ที่ประมาณร้อยละ 30-38 โรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยี USC จะสามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากถึงร้อยละ 30 และยังสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่าด้วยปริมาณถ่านหินที่เท่ากัน (ข้อมูลแบบนี้ผมไม่เคยเห็นจากเพจ NGO เลยจริงๆ)
เทคโนโลยีสะอาดสำหรับผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน ยังให้ความสำคัญกับการกำจัดมลภาวะอื่นๆด้วย เช่น มีการกำจัดออกไซด์ของไนโตรเจน โดยใช้แอมโมเนียทำปฏิกิริยากับก๊าซ (Selective Catalytic Reduction) เครื่องดักจับฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิต เครื่องดักจับไอปรอท และเทคโนโลยีอื่นๆที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดอออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจนและฝุ่นละอองต่างๆ อีกด้วยนะครับ
ดูรูปจะได้เข้าใจมากขึ้น
ส่วนตัวผมที่เอาข้อมูลมาแชร์ อยากนำเสนอให้ เพจของ NGO แชร์ข้อมูลในด้านที่พัฒนาบ้าง ไม่ใช้เอะอะค้านอย่างเดียว มันพาประเทศถ่อยหลังลงคลองครับ