ในการออกแบบSolar PV Rooftop จะมีขั้นตอนที่สำคัญ ได้แก่ การสำรวจสถานที่การติดตั้ง การคำนวนเพื่อหาปริมาณแผง และอุปกรณ์ที่ต้องการใช้ และการติดตั้งอุปกรณ์
1.การสำรวจสถานที่ในการติดตั้ง
แผงโซลาร์ PV ในประเทศไทย ควรจะหันไปทางทิศใต้ โดยทำมุม 15 องศา เนื่องจากเป็นมุมที่ประเทศไทยทำมุมหันไปยังพระอาทิตย์ โดยพื้นที่ที่ติดตั้งนั้นไม่ควรมีเงา เนื่องจากนอกจะเป็นการศูนย์เสียพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์แล้ว ในระยะเวลาในจะทำให้ เกิดปัญหาเรื่องแผงอาจแตกเสียหายจาก การขยายตัวที่ไม่เท่ากันของแสงอาทิตย์ได้
พื้นที่ในการติดตั้งแผงโซลาร์ PV สำหรับแผงชนิดผลึกรวม (Poly Crystalline) จะใช้
พื้นที่ 1 ตารางเมตร ต่อ 156 วัตต์
นั่นหมายถึง
1 กิโลวัตน์ ต้องใช้พื้นที่ 1.6 ตารางเมตร
กำลังผลิต บ้านมีพื้นที่หลังคาหันไปทางใต้
10 กิโลวัตต์ 64 ตารางเมตร
5 กิโลวัตต์ 32 ตารางเมตร
1 กิโลวัตต์ 16 ตารางเมตร
2 . คำนวนขนาด แผงที่ต้องการ
ต้องเข้าใจ Specification ของแผง
แผง Solar PV จะแบ่งเป็น 2 ชนิดที่นิยม ได้แก่ ผลึกเดี่ยว (Mono Crystalline) กับ ผลึกรวม(Poly Crystalline)
ผลึกเดี่ยวจะเป็นสีเทา
มีประสิทธิภาพสูง กว่า 15.6% แต่มีราคาสูงกว่า แต่กินพื้นที่น้อยกว่า
ผลิกรวม จะมีผลึกเป็นสีเงิน มีประสิทธิภาพ น้อยกว่า 15 มีราคาต่ำกว่า
การอ่าน specification ต้องดูค่า Stc (Standard Test Condition) ว่ามี W เท่าไร
ตัวอย่าง
สมมุติว่าบ้าน มีค่าไฟฟ้า 300 หน่วยต่อเดือน (ประมาณ 1200 บาท)
คิดเป็นค่าไฟฟ้า 10 หน่วยต่อวัน
ค่าสูญเสียของแผงจากความร้อน สายไฟฟ้า และ Inverter= 0.8
ปกติในประเทศไทย แดดจะมี 5 ชั่วโมงต่อวัน
ขนาดแผงที่ติดต้อง คือ =10/5/ 0.80= 2.5 กิโลวัตต์
สำหรับบ้านที่ต้องการใช้ไฟฟ้า 10 หน่วย (กิโลวัตต์-ชั่งโมง) ต่อวัน ต้องการติดตั้งแผง 2.5 กิโลวัตต์
ตารางสรุป
ต้องการไฟฟ้า (หน่วย) ขนาดแผงที่ต้องการติด (กิโลวัตต์)
10 2.5
20 5
30 7.5
40 10
4. การเลือกขนาด Inverter
ขนาด Inverter ควรจะเป็นประมาณ 80-90% จาก ขนาดแผงที่ต้องการที่ STC
สมมุติ ติดตั้งแผงที่ 10 kW ควรใช้ Inverter ขนาด 0.8-0.9 kW
5. วงจรการติดตั้ง
รายละเอียดการออกแบบโดยละเอียดสามารถติดตามที่ได้
https://www.facebook.com/search/top/?q=roofmakemoney
https://www.youtube.com/channel/UCim6dTXyLNoLL8iHrKM7T_A
https://www.roofmakemoney.com
แบ่งปันโดย ดร.ณัฐพงศ์ พื้นแสน วฟก.
การออกแบบหลังคาทำเงิน (Solar Rooftop) #หลังคาทำเงิน #roofmakemoney
ในการออกแบบSolar PV Rooftop จะมีขั้นตอนที่สำคัญ ได้แก่ การสำรวจสถานที่การติดตั้ง การคำนวนเพื่อหาปริมาณแผง และอุปกรณ์ที่ต้องการใช้ และการติดตั้งอุปกรณ์
1.การสำรวจสถานที่ในการติดตั้ง
แผงโซลาร์ PV ในประเทศไทย ควรจะหันไปทางทิศใต้ โดยทำมุม 15 องศา เนื่องจากเป็นมุมที่ประเทศไทยทำมุมหันไปยังพระอาทิตย์ โดยพื้นที่ที่ติดตั้งนั้นไม่ควรมีเงา เนื่องจากนอกจะเป็นการศูนย์เสียพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์แล้ว ในระยะเวลาในจะทำให้ เกิดปัญหาเรื่องแผงอาจแตกเสียหายจาก การขยายตัวที่ไม่เท่ากันของแสงอาทิตย์ได้
พื้นที่ในการติดตั้งแผงโซลาร์ PV สำหรับแผงชนิดผลึกรวม (Poly Crystalline) จะใช้พื้นที่ 1 ตารางเมตร ต่อ 156 วัตต์
นั่นหมายถึง 1 กิโลวัตน์ ต้องใช้พื้นที่ 1.6 ตารางเมตร
กำลังผลิต บ้านมีพื้นที่หลังคาหันไปทางใต้
10 กิโลวัตต์ 64 ตารางเมตร
5 กิโลวัตต์ 32 ตารางเมตร
1 กิโลวัตต์ 16 ตารางเมตร
2 . คำนวนขนาด แผงที่ต้องการ
ต้องเข้าใจ Specification ของแผง
แผง Solar PV จะแบ่งเป็น 2 ชนิดที่นิยม ได้แก่ ผลึกเดี่ยว (Mono Crystalline) กับ ผลึกรวม(Poly Crystalline)
ผลึกเดี่ยวจะเป็นสีเทา
มีประสิทธิภาพสูง กว่า 15.6% แต่มีราคาสูงกว่า แต่กินพื้นที่น้อยกว่า
ผลิกรวม จะมีผลึกเป็นสีเงิน มีประสิทธิภาพ น้อยกว่า 15 มีราคาต่ำกว่า
การอ่าน specification ต้องดูค่า Stc (Standard Test Condition) ว่ามี W เท่าไร
ตัวอย่าง
สมมุติว่าบ้าน มีค่าไฟฟ้า 300 หน่วยต่อเดือน (ประมาณ 1200 บาท)
คิดเป็นค่าไฟฟ้า 10 หน่วยต่อวัน
ค่าสูญเสียของแผงจากความร้อน สายไฟฟ้า และ Inverter= 0.8
ปกติในประเทศไทย แดดจะมี 5 ชั่วโมงต่อวัน
ขนาดแผงที่ติดต้อง คือ =10/5/ 0.80= 2.5 กิโลวัตต์
สำหรับบ้านที่ต้องการใช้ไฟฟ้า 10 หน่วย (กิโลวัตต์-ชั่งโมง) ต่อวัน ต้องการติดตั้งแผง 2.5 กิโลวัตต์
ตารางสรุป
ต้องการไฟฟ้า (หน่วย) ขนาดแผงที่ต้องการติด (กิโลวัตต์)
10 2.5
20 5
30 7.5
40 10
4. การเลือกขนาด Inverter
ขนาด Inverter ควรจะเป็นประมาณ 80-90% จาก ขนาดแผงที่ต้องการที่ STC
สมมุติ ติดตั้งแผงที่ 10 kW ควรใช้ Inverter ขนาด 0.8-0.9 kW
5. วงจรการติดตั้ง
รายละเอียดการออกแบบโดยละเอียดสามารถติดตามที่ได้
https://www.facebook.com/search/top/?q=roofmakemoney
https://www.youtube.com/channel/UCim6dTXyLNoLL8iHrKM7T_A
https://www.roofmakemoney.com
แบ่งปันโดย ดร.ณัฐพงศ์ พื้นแสน วฟก.