สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
วิธีการระเบิดตึกมีหลายวิธี
ตั้งแต่การรื้อด้วยคน
การใช้รถแบคโฮ
ใช้รถเครนและลูกตุ้มเหล็ก
ใช้หัวเจาะไฮโดรลิค คือ อุปกรณ์สำหรับกระแทกหินให้แตก
ใช้เลื่อยเพชร แล้วตัด
ใช้น้ำแรงดันสูง
แล้วแต่ข้อกำหนดของลูกค้า
แล้วแต่สถานที่ตั้งและการเข้าถึง > ถ้าสถานที่แออัดการทุบก็น่าจะดีกว่า
รูปร่างและขนาดของโครงสร้าง > ถ้าเป็นตึกสูงระเบิดก็น่าจะดีกว่า
> ถ้าเป็นสะพาน การถอดประกอบส่วนน่าจะดีกว่า
> ถ้าเป็นอุโมงค์ใต้ดิน การรื้ออุโมงค์ด้วยระเบิดจะทำให้โครงสร้างอาคารโดยรอบเสียหาย
> วัสดุที่เป็นคาน เหมาะใช้เลื่อย เพราะเป็นแรงเฉือน
ความมั่นคงของโครงสร้าง > แล้วแต่โครงสร้าง ไม้ คอนกรีต คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเหล็ก
> ถ้าเป็นตึกโครงสร้าง ไม่ได้มั่นคงมาก ทุบก็น่าจะดีกว่า
> ถ้าเป็นวัสดุแข็งมาก อาจใช้วิธีเลื่อยเพชร
การแสดงถึงวัสดุที่เป็นอันตราย > ถ้าตึกใช้วัสดุที่เป็นสารพิษ โอกาสที่จะเกิดเป็นฝุ่นพิษ วิธีการทุบ/เลื่อยจะดีกว่า
ข้อจำกัดของเวลา > การระเบิดใช้เวลารวดเร็วกว่า การทุบแบบอื่น
ระดับของการกักกัน > การทุบควบคุมได้ดีกว่าระเบิด
พิจารณาการขนส่ง > ถ้าการคมนาคมดี รถขนย้ายเข้าออกสะดวก การถอดประกอบแยกชิ้นส่วนส่วนน่าจะเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ
> ถ้าการคมนาคมห่วยถนนแคบ รถบรรทุกเข้าออกลำบาก การระเบิดป่นให้เป็นชิ้นเล็กกว่าน่าจะดีกว่า
ขอบเขตของการรื้อถอน > ต้องกำหนดขอบเขตให้ชัด
วิศวกรโครงสร้าง > การรื้อถอนต้องได้รับการอนุมัติการรื้อถอน
ข้อ จำกัด ทางการเงิน > ตามงบประมาณล่ะครับ เรื่องนี้ไม่ชัวร์ ไม่ขอตอบล่ะกัน รอผู้รู้มา
การพิจารณาการรีไซเคิล > การรื้อตึกแบบถอดทีละชิ้นส่วน สามารถรีไซเคิลวัสดุได้บางส่วนจริงอยู่
แต่ความจริง บางทีค่ารื้อถอน อาจจะแพงกว่าค่ารีไซเคิล
การพิจารณาด้านสิ่งแวดล้อม > ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณา การทุบทำลายตึกอาจสร้างแรงสั่นสะเทือน
เสียง ฝุ่น มลพิษทางนํ้า
การใช้ระเบิดอาจมีปัญหาด้านฝุ่น
การใช้นํ้าอาจมีปัญหามลภาวะทางนํ้า
การใช้เครน เครื่องเจาะ ลูกตุ้มอาจมีปัญหาเรื่องเสียงและแรงสั่นสะเทือน
สุขภาพและความปลอดภัย > การรื้อถอนอาคารที่ดีไม่ควรส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ มีความปลอดภัย
การรื้อถอนแบบดังเดิมที่เป็นวิศวกรรมย้อนกลับ ไล่ถอดโครงสร้างตึกที่ละชิ้น อาจเป็นวิธีที่มีความเป็นสีเขียว
ดีต่อสุขภาพและความปลอดภัยมากที่สุด
ฝุ่นควันอาจทำให้เกิดโรคทางเดินปอด
มีเคสรายงานการระเบิดตึกในเขตใกล้โรงพยาบาลพบว่า
อากาศแถวนั้นมีสปอร์เชื้อรา ที่เป็นอันตรายต่อคนเพิ่มขึ้น
ที่มา http://www.emeraldinsight.com/doi/full/10.1108/02630800310470853
https://en.wikipedia.org/wiki/Building_implosion
ตั้งแต่การรื้อด้วยคน
การใช้รถแบคโฮ
ใช้รถเครนและลูกตุ้มเหล็ก
ใช้หัวเจาะไฮโดรลิค คือ อุปกรณ์สำหรับกระแทกหินให้แตก
ใช้เลื่อยเพชร แล้วตัด
ใช้น้ำแรงดันสูง
แล้วแต่ข้อกำหนดของลูกค้า
แล้วแต่สถานที่ตั้งและการเข้าถึง > ถ้าสถานที่แออัดการทุบก็น่าจะดีกว่า
รูปร่างและขนาดของโครงสร้าง > ถ้าเป็นตึกสูงระเบิดก็น่าจะดีกว่า
> ถ้าเป็นสะพาน การถอดประกอบส่วนน่าจะดีกว่า
> ถ้าเป็นอุโมงค์ใต้ดิน การรื้ออุโมงค์ด้วยระเบิดจะทำให้โครงสร้างอาคารโดยรอบเสียหาย
> วัสดุที่เป็นคาน เหมาะใช้เลื่อย เพราะเป็นแรงเฉือน
ความมั่นคงของโครงสร้าง > แล้วแต่โครงสร้าง ไม้ คอนกรีต คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเหล็ก
> ถ้าเป็นตึกโครงสร้าง ไม่ได้มั่นคงมาก ทุบก็น่าจะดีกว่า
> ถ้าเป็นวัสดุแข็งมาก อาจใช้วิธีเลื่อยเพชร
การแสดงถึงวัสดุที่เป็นอันตราย > ถ้าตึกใช้วัสดุที่เป็นสารพิษ โอกาสที่จะเกิดเป็นฝุ่นพิษ วิธีการทุบ/เลื่อยจะดีกว่า
ข้อจำกัดของเวลา > การระเบิดใช้เวลารวดเร็วกว่า การทุบแบบอื่น
ระดับของการกักกัน > การทุบควบคุมได้ดีกว่าระเบิด
พิจารณาการขนส่ง > ถ้าการคมนาคมดี รถขนย้ายเข้าออกสะดวก การถอดประกอบแยกชิ้นส่วนส่วนน่าจะเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ
> ถ้าการคมนาคมห่วยถนนแคบ รถบรรทุกเข้าออกลำบาก การระเบิดป่นให้เป็นชิ้นเล็กกว่าน่าจะดีกว่า
ขอบเขตของการรื้อถอน > ต้องกำหนดขอบเขตให้ชัด
วิศวกรโครงสร้าง > การรื้อถอนต้องได้รับการอนุมัติการรื้อถอน
ข้อ จำกัด ทางการเงิน > ตามงบประมาณล่ะครับ เรื่องนี้ไม่ชัวร์ ไม่ขอตอบล่ะกัน รอผู้รู้มา
การพิจารณาการรีไซเคิล > การรื้อตึกแบบถอดทีละชิ้นส่วน สามารถรีไซเคิลวัสดุได้บางส่วนจริงอยู่
แต่ความจริง บางทีค่ารื้อถอน อาจจะแพงกว่าค่ารีไซเคิล
การพิจารณาด้านสิ่งแวดล้อม > ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ต้องพิจารณา การทุบทำลายตึกอาจสร้างแรงสั่นสะเทือน
เสียง ฝุ่น มลพิษทางนํ้า
การใช้ระเบิดอาจมีปัญหาด้านฝุ่น
การใช้นํ้าอาจมีปัญหามลภาวะทางนํ้า
การใช้เครน เครื่องเจาะ ลูกตุ้มอาจมีปัญหาเรื่องเสียงและแรงสั่นสะเทือน
สุขภาพและความปลอดภัย > การรื้อถอนอาคารที่ดีไม่ควรส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ มีความปลอดภัย
การรื้อถอนแบบดังเดิมที่เป็นวิศวกรรมย้อนกลับ ไล่ถอดโครงสร้างตึกที่ละชิ้น อาจเป็นวิธีที่มีความเป็นสีเขียว
ดีต่อสุขภาพและความปลอดภัยมากที่สุด
ฝุ่นควันอาจทำให้เกิดโรคทางเดินปอด
มีเคสรายงานการระเบิดตึกในเขตใกล้โรงพยาบาลพบว่า
อากาศแถวนั้นมีสปอร์เชื้อรา ที่เป็นอันตรายต่อคนเพิ่มขึ้น
ที่มา http://www.emeraldinsight.com/doi/full/10.1108/02630800310470853
https://en.wikipedia.org/wiki/Building_implosion
แสดงความคิดเห็น
การรื้อตึกด้วยการระเบิดตึกดีกว่าการทุบตึกยังไง สังเกตุได้ว่าประเทสBigอย่างเมกา จีน มักชอบใช้วิธีเอาระเบิดระเบิดตึก