เอาหละครับ... ก็ว่าตามนั้นเลยในความคิดคุณ
มันต่างกันตรงไหน ครับ?
อาจจะแยกประเภทก็ได้เช่น
ถ้ากับบางสถานการณ์ ตัวบุคล สถานะ ฯลฯ
อย่างที่ผมพอจะนึกออกนะครับเช่น
สำหรับเด็ก(สถานภาพตามวัย)
ทำเรื่องบางอย่างเราเรามองว่า"เอาแต่ใจ"
แต่สำหรับผู้ใหญ่(สถานภาพตามวัย)
ทำเรื่องบางอย่างเราเรามองว่า"เห็นแก่ตัว"
ดังนั้น เราจะสังเกตุได้ว่า
ในเด็ก
(สถานภาพ)+(ขาดการปลูกฝัง) ---> (ความไม่รู้)+(การกระทำที่ผิด) = ความเอาแต่ใจ
.
.
ในผู้ใหญ่
(สถานภาพ)+(ความเคยชิน) ---> (ความไม่รู้/รู้แต่ติดนิสัย)+(การกระทำที่ผิด) = ความเห็นแก่ตัว
.
.
.
เพราะฉะนั้น
*ถ้าเด็กที่ "เอาแต่ใจ" บ่อยๆ จนติดเป็นนิสัยก็มี
โอกาส โตไปเป็นผู้ใหญ่ที่ "เห็นแก่ตัว" ได้
ดังนั้นการปลุกฝังและดูพฤติกรรมต่างๆ เพื่อเลี่ยงไม่ให้เด็ก ไม่กลายไปเป็นผู้ใหญ่ที่เห็นแก่ตัว ก็ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ
รายละเอียดเล็กๆน้อยๆ ที่ผู้ปกครองควรใส่ใจ และไม่ควรมองข้ามในบางพฤติกรรมของเด็กๆนะครับ
เอาแต่ใจ vs เห็นแก่ตัว !!!
อาจจะแยกประเภทก็ได้เช่น
ถ้ากับบางสถานการณ์ ตัวบุคล สถานะ ฯลฯ
อย่างที่ผมพอจะนึกออกนะครับเช่น
สำหรับเด็ก(สถานภาพตามวัย)
ทำเรื่องบางอย่างเราเรามองว่า"เอาแต่ใจ"
แต่สำหรับผู้ใหญ่(สถานภาพตามวัย)
ทำเรื่องบางอย่างเราเรามองว่า"เห็นแก่ตัว"
ดังนั้น เราจะสังเกตุได้ว่า
ในเด็ก
(สถานภาพ)+(ขาดการปลูกฝัง) ---> (ความไม่รู้)+(การกระทำที่ผิด) = ความเอาแต่ใจ
.
.
ในผู้ใหญ่
(สถานภาพ)+(ความเคยชิน) ---> (ความไม่รู้/รู้แต่ติดนิสัย)+(การกระทำที่ผิด) = ความเห็นแก่ตัว
.
.
.
เพราะฉะนั้น
*ถ้าเด็กที่ "เอาแต่ใจ" บ่อยๆ จนติดเป็นนิสัยก็มี โอกาส โตไปเป็นผู้ใหญ่ที่ "เห็นแก่ตัว" ได้
ดังนั้นการปลุกฝังและดูพฤติกรรมต่างๆ เพื่อเลี่ยงไม่ให้เด็ก ไม่กลายไปเป็นผู้ใหญ่ที่เห็นแก่ตัว ก็ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ
รายละเอียดเล็กๆน้อยๆ ที่ผู้ปกครองควรใส่ใจ และไม่ควรมองข้ามในบางพฤติกรรมของเด็กๆนะครับ