ชีววิทยาจเป็นการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ การศึกษาลักษณะรูปร่าง การดำรงชีวิต และการจัดจำแนก สิ่งมีชีวิต สำหรับการศึกษาในระดับย่อยลงมา เช่น การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ อวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล์ ในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทำงาน
นอกจากนี้ชีววิทยายังครอบคลุมถึงการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในระดับโมเลกุล อะตอมที่เป็น องค์ประกอบทางเคมีของเซลล์ เช่น โมเลกุลดีเอ็นเอ (DNA) อาร์เอ็นเอ(RNA) โมเลกุลของสารอินทรีย์ และอะตอมของ ธาตุต่างๆ ที่พบในสิ่งมีชีวิตรวมถึงการศึกษาเรื่องปฏิกิริยาเคมี และพลังงาน ที่เกิดขึ้น ในร่างกายสิ่งมีชีวิตอีกด้วย จะเห็นได้ว่าชีววิทยานั้นเกี่ยวข้องกับความรู้ต่างๆหลายสาขา ทั้งทางด้านเคมี ฟิสิกส์คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ที่สามารถประยุกต์นำมาใช้อธิบายหรือจำลองความ เป็นไปของสิ่งมีชีวิต ทั้งหลาย เพื่อตอบปัญหาต่างๆที่มนุษย์สงสัย เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตได้
กลิ่นเลือดระยะใกล เช่น ทำไมนกสายพันธ์นี้ถึงบินได้ใกลกว่าสายพันธ์อื่น ทำไมปลาไฟฟ้าถึงปล่อยไฟฟ้า่ได้ ทำไมฉลามได้เเป็นต้น
ชีววิทยา (Biology) คำว่าชีววิทยามาจากรากศัพท์ ภาษากรีก 2 คำ คือ ไบออส (Bios) หมายถึง ชีวิตและโลกอส (Logos) แปลว่า การศึกษา หรือความรู้
ชีววิทยา มีความสำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมเป็น อย่างมากเช่น
1.ด้านโภชนาการ เรานำความรู้ทางชีววิทยาไปใช้ประโยชน์ในทางโภชนาการ เช่น การเลือก ชนิดของอาหาร การบริโภค อาหารให้ถูกสัดส่วน นำความรู้ทางชีววิทยาไปใช้เพิ่มผลผลิตอาหาร ในทาง การเกษตรโดยการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ โดยอาศัยความรู้ในสาขาพันธุศาสตร์ ชีวเคมีและ โภชนาการ ฯลฯ
2.ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกาย การป้องกันโรคและการ รักษาโรค ซึ่งชีววิทยา เป็นพื้นฐานสำคัญในทางแพทยศาสตร์และสาธารณสุข
3.การควบคุมศัตรูพืชและสัตว์ โดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาในสาขาอนุกรมวิธาน นิเวศวิทยา โดยเฉพาะการควบคุม ศัตรูพืช และสัตว์โดยวิธีทางชีววิธี (Biological Control) เอาผู้ล่ามากินเหยื่อ ซึ่งนั่นดีกว่าการใช้ยาฆ่าแมลงมาก
4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการป้องกันมลภาวะของสิ่งแวดล้อม หมายถึงการใช้ทรัพยากร ให้คุ้มค่าและใช้ได้นานโดยไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
5.การพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านเศรฐกิจ เช่น พืชผัก ธัญพืช ที่ใช้ บริโดภคและส่งเป็นสินค้าออก การใช้พลังงานทดแทน เช่น มูลสัตว์ ซากสัตว์ ใช้ผลิตก๊าซ ชีวภาพอ้อยและมันสำปะหลังใช้ผลิตแอลกอฮอล์ สิ่งเหล่านี้ต้องใช้ความรู้พื้นฐานทาง พฤกษศาสตร์และสาขาอื่น ๆ ทางชีววิทยาร่วมกันเป็นอย่างมาก หรือในอนาคตเราอาจทำฟาร์มปลาใหลไฟฟ้า จากเทคโนโลยี GMO ก็ได้ หรือการสร้างพืชที่ดูดคาร์บอนไดออไซด์ได้ดีกว่าเดิมหลายเท่า
ทำการตรวจสอบคดีฆ่ากันตาย หรือสารรั่วในทะเล ด้วยฉลาม GMO
การศึกษาชีววิทยาจำแนกออกเป็นแขนงต่างๆมากมายโดยจัดเป็นกลุ่มใหญ่ ๆได้ 2 กลุ่ม คือ
1.จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
1) พฤกษศาสตร์ หรือ พฤกษวิทยา (Botany)
2) สัตวศาสตร์ หรือ สัตววิทยา (Zoology)
2. จำแนกตามวิธีการของการศึกษาถึงสิ่งมีชีวิต
1) ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย
2) ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตเป็นหมู่เป็นเหล่าสัมพันธ์กัน
จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต จำแนกได้ 2 กลุ่ม คือ
1. พฤกษศาสตร์ หรือ พฤกษวิทยา (Botany)
ศึกษาเกี่ยวกับพืช ซึ่งยังแยกออกเป็น กลุ่มย่อย ๆ ได้อีกมากมายเช่นตฤณวิทยา (Agrostology) ศึกษาเกี่ยวกับหญ้า
2. สัตวศาสตร์ หรือ สัตววิทยา (Zoology)
ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งแยกออกเป็น.กลุ่มย่อย ๆ ได้อีกมากมาย เช่น สังขวิทยา ศึกษาเกี่ยวกับหอย มีนวิทยา ศึกษาเกี่ยวกับปลา ปักษีวิทยาศึกษาเกี่ยวกับนก เป็นต้น (บทความสัตว์ที่ผมคาบมา ส่วนมากจะอยู่กับพวกนี้)
จำแนกตามวิธีการของการศึกษาถึงสิ่งมีชีวิต จำแนกได้ 2 กลุ่มคือ
1. ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย แบ่งเป็น 3 แขนง ย่อยๆ คือ
- สัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาเกี่ยวกับ รูปร่าง ลักษณะและโครงสร้าง ของสิ่งมีชีวิตทั้งภายในและภายนอก ยังจำแนก ย่อยลงไปได้อีกคือ
ก. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) ศึกษา เกี่ยวกับ โครงสร้าง ได้แก่ กระดูกและกล้ามเนื้อ โครงสร้าง ของ ระบบต่าง ๆ
ข. เซลล์วิทยา (Cytology) ศึกษาเกี่ยวกับ เซลล์
ค. มิชญวิทยา (Histology) ศึกษาเกี่ยวกับ เนื้อเยื่อ
- สรีรวิทยา (Physiology) ศึกษาเกี่ยวกับ หน้าที่และ การทำงาน ของระบบต่างๆ ภายใน สิ่งมีชีวิต
- คัพภวิทยา (Embryology) ศึกษาเกี่ยวกับ การ เจริญเติบโต เปลี่ยนแปลงขั้นต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตตั้งแต่ ตัวอ่อนจนถึงตัวเต็มวัย
2. ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตเป็นหมู่เป็นเหล่าสัมพันธ์กัน จำแนก เป็นสาขาย่อย ๆ 5 สาขา ด้วยกันคือ
- อนุกรมวิธาน (Taxonomy) ศึกษาเกี่ยวกับการจัด หมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
- นิเวศน์วิทยา (Ecology) ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิตและ สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
เช่น ถ้า่ฉลามพันธ์ใหม่โดนเอาเข้ามา ปลาเล็กบางอย่างอาจสูญะันธ์
- ชีวภูมิศาสตร์ (Biogeography) ศึกษา เกี่ยวกับ การกระจายพันธุ์ ของสิ่งมีชีวิตไปตามเขต ภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก
เช่น การอพยพของสุนัขป่า หรือไฮยีน่า
- พันธุศาสตร์ (Genetics) ศึกษาเกี่ยวกับ การถ่ายทอด ลักษณะต่าง ๆ ของ สิ่งมีชีวิตจาก บรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน และ ปัจจัยในการควบคุม ลักษณะความคล้ายคลึง และความแตกต่าง ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ถูกใช้ในการคัดเลือกสายพันธ์
- วิวัฒนาการ (Evolution) ศึกษาเกี่ยวกับความก้าวหน้าในการเจริญเติบโต ของสิ่งมีชีวิตจากอดีตจนถึง ปัจจุบันว่ามี การเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
ถูกใช้ในการควบคุมการกลายพันธ์ และสร้างซับสปีชีส์ที่สูญพันธ์ไปกลับคืน (breeding back)
ขอบคุณที่มาบทความจาก
http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter1/p1.html
(เอาบทความมาฝาก)ทำไมการศึกษาชีววิทยา จึงสำคัญ
นอกจากนี้ชีววิทยายังครอบคลุมถึงการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในระดับโมเลกุล อะตอมที่เป็น องค์ประกอบทางเคมีของเซลล์ เช่น โมเลกุลดีเอ็นเอ (DNA) อาร์เอ็นเอ(RNA) โมเลกุลของสารอินทรีย์ และอะตอมของ ธาตุต่างๆ ที่พบในสิ่งมีชีวิตรวมถึงการศึกษาเรื่องปฏิกิริยาเคมี และพลังงาน ที่เกิดขึ้น ในร่างกายสิ่งมีชีวิตอีกด้วย จะเห็นได้ว่าชีววิทยานั้นเกี่ยวข้องกับความรู้ต่างๆหลายสาขา ทั้งทางด้านเคมี ฟิสิกส์คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ที่สามารถประยุกต์นำมาใช้อธิบายหรือจำลองความ เป็นไปของสิ่งมีชีวิต ทั้งหลาย เพื่อตอบปัญหาต่างๆที่มนุษย์สงสัย เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตได้
กลิ่นเลือดระยะใกล เช่น ทำไมนกสายพันธ์นี้ถึงบินได้ใกลกว่าสายพันธ์อื่น ทำไมปลาไฟฟ้าถึงปล่อยไฟฟ้า่ได้ ทำไมฉลามได้เเป็นต้น
ชีววิทยา (Biology) คำว่าชีววิทยามาจากรากศัพท์ ภาษากรีก 2 คำ คือ ไบออส (Bios) หมายถึง ชีวิตและโลกอส (Logos) แปลว่า การศึกษา หรือความรู้
ชีววิทยา มีความสำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมเป็น อย่างมากเช่น
1.ด้านโภชนาการ เรานำความรู้ทางชีววิทยาไปใช้ประโยชน์ในทางโภชนาการ เช่น การเลือก ชนิดของอาหาร การบริโภค อาหารให้ถูกสัดส่วน นำความรู้ทางชีววิทยาไปใช้เพิ่มผลผลิตอาหาร ในทาง การเกษตรโดยการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ โดยอาศัยความรู้ในสาขาพันธุศาสตร์ ชีวเคมีและ โภชนาการ ฯลฯ
2.ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกาย การป้องกันโรคและการ รักษาโรค ซึ่งชีววิทยา เป็นพื้นฐานสำคัญในทางแพทยศาสตร์และสาธารณสุข
3.การควบคุมศัตรูพืชและสัตว์ โดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาในสาขาอนุกรมวิธาน นิเวศวิทยา โดยเฉพาะการควบคุม ศัตรูพืช และสัตว์โดยวิธีทางชีววิธี (Biological Control) เอาผู้ล่ามากินเหยื่อ ซึ่งนั่นดีกว่าการใช้ยาฆ่าแมลงมาก
4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการป้องกันมลภาวะของสิ่งแวดล้อม หมายถึงการใช้ทรัพยากร ให้คุ้มค่าและใช้ได้นานโดยไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
5.การพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านเศรฐกิจ เช่น พืชผัก ธัญพืช ที่ใช้ บริโดภคและส่งเป็นสินค้าออก การใช้พลังงานทดแทน เช่น มูลสัตว์ ซากสัตว์ ใช้ผลิตก๊าซ ชีวภาพอ้อยและมันสำปะหลังใช้ผลิตแอลกอฮอล์ สิ่งเหล่านี้ต้องใช้ความรู้พื้นฐานทาง พฤกษศาสตร์และสาขาอื่น ๆ ทางชีววิทยาร่วมกันเป็นอย่างมาก หรือในอนาคตเราอาจทำฟาร์มปลาใหลไฟฟ้า จากเทคโนโลยี GMO ก็ได้ หรือการสร้างพืชที่ดูดคาร์บอนไดออไซด์ได้ดีกว่าเดิมหลายเท่า
ทำการตรวจสอบคดีฆ่ากันตาย หรือสารรั่วในทะเล ด้วยฉลาม GMO
การศึกษาชีววิทยาจำแนกออกเป็นแขนงต่างๆมากมายโดยจัดเป็นกลุ่มใหญ่ ๆได้ 2 กลุ่ม คือ
1.จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
1) พฤกษศาสตร์ หรือ พฤกษวิทยา (Botany)
2) สัตวศาสตร์ หรือ สัตววิทยา (Zoology)
2. จำแนกตามวิธีการของการศึกษาถึงสิ่งมีชีวิต
1) ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย
2) ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตเป็นหมู่เป็นเหล่าสัมพันธ์กัน
จำแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต จำแนกได้ 2 กลุ่ม คือ
1. พฤกษศาสตร์ หรือ พฤกษวิทยา (Botany)
ศึกษาเกี่ยวกับพืช ซึ่งยังแยกออกเป็น กลุ่มย่อย ๆ ได้อีกมากมายเช่นตฤณวิทยา (Agrostology) ศึกษาเกี่ยวกับหญ้า
2. สัตวศาสตร์ หรือ สัตววิทยา (Zoology)
ศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งแยกออกเป็น.กลุ่มย่อย ๆ ได้อีกมากมาย เช่น สังขวิทยา ศึกษาเกี่ยวกับหอย มีนวิทยา ศึกษาเกี่ยวกับปลา ปักษีวิทยาศึกษาเกี่ยวกับนก เป็นต้น (บทความสัตว์ที่ผมคาบมา ส่วนมากจะอยู่กับพวกนี้)
จำแนกตามวิธีการของการศึกษาถึงสิ่งมีชีวิต จำแนกได้ 2 กลุ่มคือ
1. ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย แบ่งเป็น 3 แขนง ย่อยๆ คือ
- สัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาเกี่ยวกับ รูปร่าง ลักษณะและโครงสร้าง ของสิ่งมีชีวิตทั้งภายในและภายนอก ยังจำแนก ย่อยลงไปได้อีกคือ
ก. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) ศึกษา เกี่ยวกับ โครงสร้าง ได้แก่ กระดูกและกล้ามเนื้อ โครงสร้าง ของ ระบบต่าง ๆ
ข. เซลล์วิทยา (Cytology) ศึกษาเกี่ยวกับ เซลล์
ค. มิชญวิทยา (Histology) ศึกษาเกี่ยวกับ เนื้อเยื่อ
- สรีรวิทยา (Physiology) ศึกษาเกี่ยวกับ หน้าที่และ การทำงาน ของระบบต่างๆ ภายใน สิ่งมีชีวิต
- คัพภวิทยา (Embryology) ศึกษาเกี่ยวกับ การ เจริญเติบโต เปลี่ยนแปลงขั้นต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตตั้งแต่ ตัวอ่อนจนถึงตัวเต็มวัย
2. ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตเป็นหมู่เป็นเหล่าสัมพันธ์กัน จำแนก เป็นสาขาย่อย ๆ 5 สาขา ด้วยกันคือ
- อนุกรมวิธาน (Taxonomy) ศึกษาเกี่ยวกับการจัด หมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
- นิเวศน์วิทยา (Ecology) ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิตและ สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
เช่น ถ้า่ฉลามพันธ์ใหม่โดนเอาเข้ามา ปลาเล็กบางอย่างอาจสูญะันธ์
- ชีวภูมิศาสตร์ (Biogeography) ศึกษา เกี่ยวกับ การกระจายพันธุ์ ของสิ่งมีชีวิตไปตามเขต ภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก
เช่น การอพยพของสุนัขป่า หรือไฮยีน่า
- พันธุศาสตร์ (Genetics) ศึกษาเกี่ยวกับ การถ่ายทอด ลักษณะต่าง ๆ ของ สิ่งมีชีวิตจาก บรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน และ ปัจจัยในการควบคุม ลักษณะความคล้ายคลึง และความแตกต่าง ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ถูกใช้ในการคัดเลือกสายพันธ์
- วิวัฒนาการ (Evolution) ศึกษาเกี่ยวกับความก้าวหน้าในการเจริญเติบโต ของสิ่งมีชีวิตจากอดีตจนถึง ปัจจุบันว่ามี การเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
ถูกใช้ในการควบคุมการกลายพันธ์ และสร้างซับสปีชีส์ที่สูญพันธ์ไปกลับคืน (breeding back)
ขอบคุณที่มาบทความจาก
http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter1/p1.html