เรียนจบคณะบริหารธุรกิจ กับ หลักสูตรบริหารธุรกิจ หางานอะไรได้บ้าง ?
คำถามยอดฮิตของคณะบริหารธุรกิจ และ หลักสูตรบริหารธุรกิจ บางคนอาจจะสงสัยว่าเรียนจบบริหารธุรกิจแล้วจะทำงานอะไรได้บ้างถ้าเรียนจบจากคณะบริหารธุกิจ
คำตอบมีอยู่มากมาย เพราะแต่ละคนก็เรียนกันคนละสาขาวิชา แต่เป้าหมายหลักคงจะหลีกไม่พ้นการเป็นนักธุรกิจหรือเป็นเจ้าของกิจการที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในเรื่องธุรกิจ ส่วนเป้าหมายรองลงมานั้น นิสิตนักศึกษาที่เรียนจบในสาขาต่างๆ ของคณะบริหารธุรกิจ ยังคงสามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานของรัฐฯ และ บริษัทเอกชนได้ ยกตัวอย่างคร่าวๆ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 1 ยกตัวอย่างนักศึกษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ นักศึกษาที่จบจากสาขานี้สามารถทำงานบริษัทก็ได้หรือจะทำงานอิสระก็ได้เช่นกันครับ อาชีพที่เหมาะกับนักศึกษาสาขานี้ก็มีหลากหลายอาชีพครับ ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมเมอร์ กราฟฟิคดีไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ หรือนักออกแบบ Website รวมทั้งเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำได้เช่นกันครับ ฯลฯ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 2 นักศึกษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ นักศึกษาที่จบจากสาขานี้สามารถนำทักษะและความที่รู้เกี่ยวกับการจัดการไปใช้ในงานบริหารต่างๆ ของแต่ละหน่วยงาน เริ่มตั้งแต่ระดับพนักงานทั่วไป จนไปถึงระดับสูงสุดอย่าง CEO เพื่อช่วยในการบริหารจัดการ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 3 นักศักษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาการเงินและการลงทุน ก็สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายอาชีพเช่นกันครับ ไม่ว่าจะไปเป็นพนักงานในแผนกสินเชื่อของธนาคารต่างๆ รวมไปถึงผู้จัดการธนาคาร นักลงทุน นักเล่นหุ้นต่าง ฯลฯ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 4 ยกตัวอย่างนักศึกษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด นักศึกษาที่จบจากสาขานี้สามารถไปทำงานในแผนกการตลาดของบริษัทต่างๆได้ครับ หรือจะเป็นนักวิชาการและที่ปรึกษาทางด้านการตลาดให้กับหลายๆหน่วยงานก็ยังได้ครับ
ไม่ว่าเราจะเรียนสาขาวิชาใด จบมาก็มีงานรองรับอยู่แล้ว ขอแค่ต้องตั้งใจเรียนและทำคะแนนให้ดีๆก็พอ จะได้มีโอกาสที่จะได้ทำงานในหน่วยงานดีๆ ที่ยกตัวอย่างให้ดูก็เป็นเพียงไม่กี่สาขาวิชานะ หรือไม่ว่าจะเรียนจบจากที่ไหนหรือคณะอะไร ถ้าเรามีความสามารถพอ เราก็สามารถเอาความรู้วิชาที่เรียนมาทำงานได้
ที่มา
v
v
v
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.rsubba.com/
เรียนจบคณะบริหารธุรกิจ กับ หลักสูตรบริหารธุรกิจ หางานอะไรได้บ้าง ?
คำถามยอดฮิตของคณะบริหารธุรกิจ และ หลักสูตรบริหารธุรกิจ บางคนอาจจะสงสัยว่าเรียนจบบริหารธุรกิจแล้วจะทำงานอะไรได้บ้างถ้าเรียนจบจากคณะบริหารธุกิจ
คำตอบมีอยู่มากมาย เพราะแต่ละคนก็เรียนกันคนละสาขาวิชา แต่เป้าหมายหลักคงจะหลีกไม่พ้นการเป็นนักธุรกิจหรือเป็นเจ้าของกิจการที่ต้องการจะประสบความสำเร็จในเรื่องธุรกิจ ส่วนเป้าหมายรองลงมานั้น นิสิตนักศึกษาที่เรียนจบในสาขาต่างๆ ของคณะบริหารธุรกิจ ยังคงสามารถสมัครเข้าทำงานในหน่วยงานของรัฐฯ และ บริษัทเอกชนได้ ยกตัวอย่างคร่าวๆ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 1 ยกตัวอย่างนักศึกษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ นักศึกษาที่จบจากสาขานี้สามารถทำงานบริษัทก็ได้หรือจะทำงานอิสระก็ได้เช่นกันครับ อาชีพที่เหมาะกับนักศึกษาสาขานี้ก็มีหลากหลายอาชีพครับ ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมเมอร์ กราฟฟิคดีไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ หรือนักออกแบบ Website รวมทั้งเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำได้เช่นกันครับ ฯลฯ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 2 นักศึกษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ นักศึกษาที่จบจากสาขานี้สามารถนำทักษะและความที่รู้เกี่ยวกับการจัดการไปใช้ในงานบริหารต่างๆ ของแต่ละหน่วยงาน เริ่มตั้งแต่ระดับพนักงานทั่วไป จนไปถึงระดับสูงสุดอย่าง CEO เพื่อช่วยในการบริหารจัดการ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 3 นักศักษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาการเงินและการลงทุน ก็สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายอาชีพเช่นกันครับ ไม่ว่าจะไปเป็นพนักงานในแผนกสินเชื่อของธนาคารต่างๆ รวมไปถึงผู้จัดการธนาคาร นักลงทุน นักเล่นหุ้นต่าง ฯลฯ
คณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจอันดับ 4 ยกตัวอย่างนักศึกษาที่จบจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด นักศึกษาที่จบจากสาขานี้สามารถไปทำงานในแผนกการตลาดของบริษัทต่างๆได้ครับ หรือจะเป็นนักวิชาการและที่ปรึกษาทางด้านการตลาดให้กับหลายๆหน่วยงานก็ยังได้ครับ
ไม่ว่าเราจะเรียนสาขาวิชาใด จบมาก็มีงานรองรับอยู่แล้ว ขอแค่ต้องตั้งใจเรียนและทำคะแนนให้ดีๆก็พอ จะได้มีโอกาสที่จะได้ทำงานในหน่วยงานดีๆ ที่ยกตัวอย่างให้ดูก็เป็นเพียงไม่กี่สาขาวิชานะ หรือไม่ว่าจะเรียนจบจากที่ไหนหรือคณะอะไร ถ้าเรามีความสามารถพอ เราก็สามารถเอาความรู้วิชาที่เรียนมาทำงานได้
ที่มา
v
v
v
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้