คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 7
จักวารหรือเอกภพเรากว้างใหญ่แค่ใหน มีทื่สิ้นสุดใมครับ
ด้วยเทคโนโลยีของมนุษย์เราในปัจจุบันนี้ เราสำรวจจักรวาลได้เพียงระยะความไกลระดับหนึ่ง
เรียกว่า เอกภพที่สังเกตได้ (Observable Universe) ซึ่งก็คือขนาดของเอกภพที่ไกลเท่าที่ แสง จากวัตถุใด ๆ
จะเดินทางมาหาเราได้ ซึ่งขณะนี้เราได้ตรวจพบวัตถุที่ไกลสุดที่ระยะประมาณ 13,370 ล้าน ปีแสง จากเรา
นั่นแสดงว่าจักรวาลก็จะใหญ่กว่านี้ไปอีกแน่นอน แต่เรายังไม่ทราบว่าขนาดจริงเท่าใด มีจุดสิ้นสุดหรือไม่ ?
ปัจจุบันดาวเทียมเราไปได้ไกลแค่ใหนแล้วในจักวาร ใช่ไกลสุดที่ดาวพลูโตหรือป่าว
ไกลกว่านั้นครับ ภาพนี้คือยานสำรวจอวกาศทั้งหมดที่มนุษย์ส่งออกไปครับ
จะเห็นว่ายานสำรวจ Voyager 1 นั้นไปได้ไกลสุดที่ระยะเกือบ 20,000 ล้าน กิโลเมตร แล้ว
แต่ ... ระยะ 20,000 ล้าน กิโลเมตร นี้ ยังถือว่าน้อยมาก ๆ หากเทียบกับขนาดแกแลคซี่ทางช้างเผือกของเราครับ
ระยะขนาดนี้ยังน้อยกว่าระยะทางไปยัง ดาวฤกษ์ดวงถัดไป จากเราถึง 2,000 เท่าครับ (Proxima Centauri : 4.24 ปีแสง)
....... ทั้งน่าทึ่ง และ น่าท้อใจ
และวิทยาการความรู้เราสำรวจไปไกลกว่าดาวเทียมจะไปถึงจริงหรือ (งั้นเขาสำรวจกันยังไงในที่ๆไม่มีดาวเทียม กล้องดูดาวหรอ)
ผมสงสัยมากเลยเวลามองท้องฟ้าตอนกลางคืน
ใช่แล้วครับ เราสามารถรู้ได้ว่า ดาวฤกษ์ หรือ ดาวเคราะห์ ที่อยู่ห่างไกลออกไปนับสิบ ๆ ถึง ร้อย ๆ ปีแสงจากเรา นั้น
มีรายละเอียดอย่างไรบ้าง เช่น สว่างเท่าใด ระยะเท่าใด เป็นดาวประเภทใด มีดาวเคราะห์โคจรรอบกี่ดวง
เราทราบได้โดยการสำรวจผ่านกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่บนโลก และ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ที่โคจรอยู่รอบโลกครับ
ข้อมูลเหล่านี้ เราทราบได้จากการวิเคราะห์สภาพแสงจากดาวฤกษ์เหล่านั้น และนำมาวิเคราะห์ด้วยกรรมวิธีพิเศษ
จนได้ออกมาเป็นข้อมูลทางเคมี ฟิสิกส์ ครับ
ด้วยเทคโนโลยีของมนุษย์เราในปัจจุบันนี้ เราสำรวจจักรวาลได้เพียงระยะความไกลระดับหนึ่ง
เรียกว่า เอกภพที่สังเกตได้ (Observable Universe) ซึ่งก็คือขนาดของเอกภพที่ไกลเท่าที่ แสง จากวัตถุใด ๆ
จะเดินทางมาหาเราได้ ซึ่งขณะนี้เราได้ตรวจพบวัตถุที่ไกลสุดที่ระยะประมาณ 13,370 ล้าน ปีแสง จากเรา
นั่นแสดงว่าจักรวาลก็จะใหญ่กว่านี้ไปอีกแน่นอน แต่เรายังไม่ทราบว่าขนาดจริงเท่าใด มีจุดสิ้นสุดหรือไม่ ?
ปัจจุบันดาวเทียมเราไปได้ไกลแค่ใหนแล้วในจักวาร ใช่ไกลสุดที่ดาวพลูโตหรือป่าว
ไกลกว่านั้นครับ ภาพนี้คือยานสำรวจอวกาศทั้งหมดที่มนุษย์ส่งออกไปครับ
จะเห็นว่ายานสำรวจ Voyager 1 นั้นไปได้ไกลสุดที่ระยะเกือบ 20,000 ล้าน กิโลเมตร แล้ว
แต่ ... ระยะ 20,000 ล้าน กิโลเมตร นี้ ยังถือว่าน้อยมาก ๆ หากเทียบกับขนาดแกแลคซี่ทางช้างเผือกของเราครับ
ระยะขนาดนี้ยังน้อยกว่าระยะทางไปยัง ดาวฤกษ์ดวงถัดไป จากเราถึง 2,000 เท่าครับ (Proxima Centauri : 4.24 ปีแสง)
....... ทั้งน่าทึ่ง และ น่าท้อใจ
และวิทยาการความรู้เราสำรวจไปไกลกว่าดาวเทียมจะไปถึงจริงหรือ (งั้นเขาสำรวจกันยังไงในที่ๆไม่มีดาวเทียม กล้องดูดาวหรอ)
ผมสงสัยมากเลยเวลามองท้องฟ้าตอนกลางคืน
ใช่แล้วครับ เราสามารถรู้ได้ว่า ดาวฤกษ์ หรือ ดาวเคราะห์ ที่อยู่ห่างไกลออกไปนับสิบ ๆ ถึง ร้อย ๆ ปีแสงจากเรา นั้น
มีรายละเอียดอย่างไรบ้าง เช่น สว่างเท่าใด ระยะเท่าใด เป็นดาวประเภทใด มีดาวเคราะห์โคจรรอบกี่ดวง
เราทราบได้โดยการสำรวจผ่านกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่บนโลก และ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ที่โคจรอยู่รอบโลกครับ
ข้อมูลเหล่านี้ เราทราบได้จากการวิเคราะห์สภาพแสงจากดาวฤกษ์เหล่านั้น และนำมาวิเคราะห์ด้วยกรรมวิธีพิเศษ
จนได้ออกมาเป็นข้อมูลทางเคมี ฟิสิกส์ ครับ
แสดงความคิดเห็น
จักวารมีที่สิ้นสุดใมครับ
ปัจจุบันดาวเทียมเราไปได้ไกลแค่ใหนแล้วในจักวาร ใช่ไกลสุดที่ดาวพลูโตหรือป่าว
และวิทยาการความรู้เราสำรวจไปไกลกว่าดาวเทียมจะไปถึงจริงหรือ (งั้นเขาสำรวจกันยังไงในที่ๆไม่มีดาวเทียม กล้องดูดาวหรอ)
ผมสงสัยมากเลยเวลามองท้องฟ้าตอนกลางคืน