เป็น การ เอาเปรียบ ปชน มานาน สำหรับ กฟน - กฟภ
ตัดมิเตอร์ มั่ว พอมาต่อก็จะเก็บ ค่าต่อ อีก
ต่อไปนี้ พวกเรา อย่า ยอม มัน จะครับ ถ้ามันมาทำ ฟ้อง เรียกค่าเสียหาย ให้เข็ด
ข้อ ๑๖ การเรียกเก็บค่าไฟฟ้า ผู้ให้บริการไฟฟ้าต้องดําเนินการ ดังนี้
1. แจ้งล่วงหน้า > 10 วัน
2. จากข้อ 1 ถ้าเรายังไม่ไปจ่าย ก็ไม่สามารถ มาตัดไฟฟ้าได้ ถ้ามาตัดให้ไปแจ้งความ เป็นลายลักษณ์อักษร
เพื่อ ดำเนินคดี ฟ้องร้อง เรียกค่าเสีย หาย
ระบุคำฟ้อง จำเลยที่ 1 คือ หัวหน้าสถานี้ ไฟฟ้านั้น มันจะได้ มี มนทิน ยศต่ำแหน่งไม่เพิ่ม
........ จำเลย 2 , 3 , 4
3. จากข้อ 1 มันต้องมี จดหมายมาแจ้งเตือน อีก 5 วัน
4. ระหว่างนี้ ถ้าเราไม่มีเงินจ่าย ก็ไป ยืนเรื่อง ขอ ผ่อนผัน ว่าจะจ่ายในวันไหน ที่ เขตการ ไฟฟ้า (ห้ามมาตัดมิเตอร์ ถ้ามาตัดฟ้องอย่างเดียว)
5. ถ้า เราไม่มีจ่ายอี่ก ก็สามารถ ไปยืน ขอผ่อน ผัดได้อีก 1 ครั้ง แต่ครั้งนี้ การไฟฟ้า สามารถ เรียกเก็บค่า ธรรมเนียมได้ (ครั้งแรกไม่ได้)
การตัดมิเตอร์ (คำราชการคือ งดจ่ายไฟฟ้า)
1. เมื่อการไฟฟ้ามา ตัดมิเตอร์ วันไหน แล้ว เราไปจ่ายวันนั้น การไฟฟ้าจะมาเรี่ยกเก็บค่า ต่อมิเตอร์จากเราไม่ได้
2. ข้อ ๑๘ ผู้ให้บริการไฟฟ้าจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการต่อกลับไฟฟ้าได้ก็ต่อเมื่อผู้ให้บริการไฟฟ้าได้ดําเนินการงดจ่ายไฟฟ้าถึงขนาดที่ผู้ใช้ไฟฟ้าไม่อาจใช้บริการไฟฟ้าได้ (อันนี้น่าจะ หมายถึง เลยไป 1 วันแล้ว การไฟฟ้า จะเรียกเก็บค่าต่อได้)
3. ห้ามมาติดมิเตอร์ วัน เสาร์- อาทิตย์ จริงๆ ต้องเพิ่มว่า วันหยุด ราชขการและ นักขัติฤษก
หลักๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ ปชช
รายละเอียด อ่านได้ที่
http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9580000088511
คุ้มครองผู้ใช้ไฟฟ้า “กฟน.-กฟภ.” ไม่มีสิทธิตัดมิเตอร์มั่ว! ปชช.มีสิทธิขอดูค่าไฟฟ้าย้อนหลัง
ตัดมิเตอร์ มั่ว พอมาต่อก็จะเก็บ ค่าต่อ อีก
ต่อไปนี้ พวกเรา อย่า ยอม มัน จะครับ ถ้ามันมาทำ ฟ้อง เรียกค่าเสียหาย ให้เข็ด
ข้อ ๑๖ การเรียกเก็บค่าไฟฟ้า ผู้ให้บริการไฟฟ้าต้องดําเนินการ ดังนี้
1. แจ้งล่วงหน้า > 10 วัน
2. จากข้อ 1 ถ้าเรายังไม่ไปจ่าย ก็ไม่สามารถ มาตัดไฟฟ้าได้ ถ้ามาตัดให้ไปแจ้งความ เป็นลายลักษณ์อักษร
เพื่อ ดำเนินคดี ฟ้องร้อง เรียกค่าเสีย หาย
ระบุคำฟ้อง จำเลยที่ 1 คือ หัวหน้าสถานี้ ไฟฟ้านั้น มันจะได้ มี มนทิน ยศต่ำแหน่งไม่เพิ่ม
........ จำเลย 2 , 3 , 4
3. จากข้อ 1 มันต้องมี จดหมายมาแจ้งเตือน อีก 5 วัน
4. ระหว่างนี้ ถ้าเราไม่มีเงินจ่าย ก็ไป ยืนเรื่อง ขอ ผ่อนผัน ว่าจะจ่ายในวันไหน ที่ เขตการ ไฟฟ้า (ห้ามมาตัดมิเตอร์ ถ้ามาตัดฟ้องอย่างเดียว)
5. ถ้า เราไม่มีจ่ายอี่ก ก็สามารถ ไปยืน ขอผ่อน ผัดได้อีก 1 ครั้ง แต่ครั้งนี้ การไฟฟ้า สามารถ เรียกเก็บค่า ธรรมเนียมได้ (ครั้งแรกไม่ได้)
การตัดมิเตอร์ (คำราชการคือ งดจ่ายไฟฟ้า)
1. เมื่อการไฟฟ้ามา ตัดมิเตอร์ วันไหน แล้ว เราไปจ่ายวันนั้น การไฟฟ้าจะมาเรี่ยกเก็บค่า ต่อมิเตอร์จากเราไม่ได้
2. ข้อ ๑๘ ผู้ให้บริการไฟฟ้าจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการต่อกลับไฟฟ้าได้ก็ต่อเมื่อผู้ให้บริการไฟฟ้าได้ดําเนินการงดจ่ายไฟฟ้าถึงขนาดที่ผู้ใช้ไฟฟ้าไม่อาจใช้บริการไฟฟ้าได้ (อันนี้น่าจะ หมายถึง เลยไป 1 วันแล้ว การไฟฟ้า จะเรียกเก็บค่าต่อได้)
3. ห้ามมาติดมิเตอร์ วัน เสาร์- อาทิตย์ จริงๆ ต้องเพิ่มว่า วันหยุด ราชขการและ นักขัติฤษก
หลักๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ ปชช
รายละเอียด อ่านได้ที่
http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9580000088511