คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
จบ สายอาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช สาขาเลขานุการ เรียนต่อ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส สาขาคอมพิวเตอร์ ได้ ต้องขยันเพิ่มเติม เพราะ จะเสียเปรียบ คนที่จบ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช สาขาคอมพิวเตอร์ โดยตรง
เรียน ยาก หรือ ไม่ยาก ขึ้นอยู่ กับ ความขยัน ของ แต่ละบุคคล ว่า จะมีความขยัน มาก แค่ไหน จะเก็บเกี่ยวเอาความรู้มาได้ มากแค่ไหน
แต่ละ สาขา เน้นคนละด้าน
น้อง ต้องหาตัวเองให้พบ ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็น แบบไหน เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไรแล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียนและการทำงาน
บางคนคิดว่า ชอบ ถนัด พอมาเรียนจริง ๆ เรียน ไม่ได้ ไม่ไหว
ภาษา ใช้ในการเรียนต่อ และ การทำงาน
ถ้า ชอบ ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา คอมพิวเตอร์
ไม่ว่า จะ เขียนโปรแกรม ต้อง มี การออกแบบ Design User Interface:UI
เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง คณิตศาสตร์ ภาษาE อังกฤษ & หัวLogic ด้วยถึงจะดี
คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย
เขียนโปรแกรม อ่านให้เข้าใจ ปิดหนังสือ เว็บไซต์ Website ลองตั้งโจทย์ ขึ้น มา เขียน ตามความเข้าใจของ เรา อย่า เขียน ตามหนังสือ เว็บไซต์ Website เพราะ หนังสือ เว็บไซต์ Website ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้า เขียนโปรแกรม ตาม หนังสือ เว็บไซต์ Website แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ต้อง แก้ไขโค้ด Edit Code ได้ เป็น โดย ไม่พึ่ง คนอื่น ต้อง ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ได้ เป็น เพราะ ไม่มีใคร มานั่งชี้แนะ ได้ตลอดเวลา ก็ เหมาะ ที่จะเรียน สาขา คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา หนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา เน้นคนละด้าน
คอมพิวเตอร์หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ให้เลือกเรียนมาก
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา จะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา Database ฐานข้อมูล
Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย System Analysis And Design:SA วิเคราะห์และออกแบบระบบ
จะต่างกันตรง รหัสวิชา ชื่อวิชา
คอมพิวเตอร์ แต่ละ สถาบัน โรงเรียน วิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ที่แตกต่างกันไป
สาขาคอมพิวเตอร์
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
.ชอบคิดและเรียนรู้ในการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ
เรียน ยาก หรือ ไม่ยาก ขึ้นอยู่ กับ ความขยัน ของ แต่ละบุคคล ว่า จะมีความขยัน มาก แค่ไหน จะเก็บเกี่ยวเอาความรู้มาได้ มากแค่ไหน
แต่ละ สาขา เน้นคนละด้าน
น้อง ต้องหาตัวเองให้พบ ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็น แบบไหน เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไรแล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียนและการทำงาน
บางคนคิดว่า ชอบ ถนัด พอมาเรียนจริง ๆ เรียน ไม่ได้ ไม่ไหว
ภาษา ใช้ในการเรียนต่อ และ การทำงาน
ถ้า ชอบ ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา คอมพิวเตอร์
ไม่ว่า จะ เขียนโปรแกรม ต้อง มี การออกแบบ Design User Interface:UI
เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง คณิตศาสตร์ ภาษาE อังกฤษ & หัวLogic ด้วยถึงจะดี
คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย
เขียนโปรแกรม อ่านให้เข้าใจ ปิดหนังสือ เว็บไซต์ Website ลองตั้งโจทย์ ขึ้น มา เขียน ตามความเข้าใจของ เรา อย่า เขียน ตามหนังสือ เว็บไซต์ Website เพราะ หนังสือ เว็บไซต์ Website ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้า เขียนโปรแกรม ตาม หนังสือ เว็บไซต์ Website แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ต้อง แก้ไขโค้ด Edit Code ได้ เป็น โดย ไม่พึ่ง คนอื่น ต้อง ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ได้ เป็น เพราะ ไม่มีใคร มานั่งชี้แนะ ได้ตลอดเวลา ก็ เหมาะ ที่จะเรียน สาขา คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา หนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา เน้นคนละด้าน
คอมพิวเตอร์หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ให้เลือกเรียนมาก
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา จะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา Database ฐานข้อมูล
Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย System Analysis And Design:SA วิเคราะห์และออกแบบระบบ
จะต่างกันตรง รหัสวิชา ชื่อวิชา
คอมพิวเตอร์ แต่ละ สถาบัน โรงเรียน วิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ที่แตกต่างกันไป
สาขาคอมพิวเตอร์
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
.ชอบคิดและเรียนรู้ในการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ
แสดงความคิดเห็น
เรียนจบ ปวช สาขาเลขานนุการ จะต่อ ปวส คอม ได้ไหม??
อยากทราบว่าจะต่อได้ไหม จะยากไหม จะเรียนเข้าใจไหม