เมื่อผมอ่านดูการเปรียบเทียบของคุณฮุไซนีย์ ใน 106-1 ใน กระทู้
http://ppantip.com/topic/34050691/desktop ผมจึงทราบได้ว่าคุณไม่รู้จักวิธีการใช้ ความรู้วาทศิลป์ ตามวิชาการ مَجَاز ตามที่คุณ คิดว่าคุณเข้าใจ
ถ้าผมจะเปรียบให้พุทธสมาชิกที่เข้ามาอ่าน ก็จะเปรียบ การ ใช้วาทศิลป์ ตามวิชาการ مَجَاز ได้ดังนี้ อัลกุรอานใช้ศัพท์ อธิบายประโยคชนิดนี้ว่า ประโยคที่มี ความหมายที่ซับซ้อน เป็นนัย (مُتَشَابِهَاتٌ) ซึ่ง มีใช้อยู่ในคัมภีร์ ของทุกๆศาสนา
ตัวอย่างเช่น: ใน เรื่องชาดก; ในพุทธศาสนา..
องค์คุลีมาลได้ถามไปยังพระพุทธองค์ว่า ข้าฯวิ่งไล่ฆ่าท่าน ทำไมท่านไม่หยุดให้เราฆ่า พระพุทธองค์ ทรงตอบว่า “เรานะหยุดแล้วแต่ท่านซิยังไม่หยุด”
ประโยคที่ว่า,“เรานะหยุดแล้วแต่ท่านซิยังไม่หยุด” ประโยคนี้เป็นการเขียนสำนวน مَجَاز เปรียบได้กับประโยค مُتَشَابِهَاتٌ ในศาสนาอิสลาม
อัลกุรอาน:ซูเราะฮฺฏอฮา (บท ฏอฮา) บัญญัติ ที่ 5…
{20:5} ผู้ทรงกรุณาปรานี ทรงสถิตย์อยู่บนบัลลังก์
ในบัญญัตินี้ มีความหมายซับซ้อน คือ “ผู้ทรงกรุณาปรานี” หมายถึง พระเจ้า/อัลลอฮ์
“ทรงสถิตย์อยู่บนบัลลังก์” ความหมายที่มีความเป็นนัย ซับซัอน หมายถึง “ผู้ทรงอำนาจเหนือทุกๆสิ่ง ทุกๆอย่าง ทั้งภายนอกและภายในจักวาล”
คุณพอจะเข้าใจได้ไหมครับคุณฮุไซนี
อะไรคิอ วิชาการ مَجَاز
مَجَاز เป็นเป็นคำนาม บอกสถานที่และเป็นคำนามที่มาจากคำกริยา جَازَ มาจากรากศัพท์ ج و ز
1.การอุปมา
อุปมา เป็นการกล่าวเปรียบเปรยโดยนัยโดยใช้คำว่า ดุจ, ดั่ง, ราว, เสมือน มีความหมายเชิง เปรียบเทียบเช่นเดียวกับอุปลักษณ์ แต่อุปมาจะเปรียบเทียบระหว่างสองสิ่ง และหลงเหลือ แต่เพียงความคล้ายกันของสองสิ่งนั้น ในขณะที่อุปลักษณ์จะเปรียบเทียบโดยตรง
2.จินตนาการ
จินตนาการ เป็นความสามารถในการการสร้างภาพในความคิดจากการเขียนหรือการพูด,ซึ่งภาพเหล่านี้ไม่ได้รับรู้ผ่าน การมองเห็น การได้ยิน หรือผ่านวิธีการรับรู้อื่น ๆ จินตนาการถือได้ว่าเป็นตัวช่วยสำคัญในการนำความรู้ไปใช้งานจริงและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และยังเป็นรากฐานในการรวมประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้เข้าด้วยกันการฝึกการสร้างจินตนาการ สามารถทำ ได้โดยการฟังเรื่องเล่า
3. การเปรียบเทียบอุปมาสัญลักษณ์/สัญลักษณ์เรื่องปรียบเทียบ สัญลักษณ์/นิทานสุภาษิต/ยกตัวอย่างเปรียบเทียบอย่างเป็นนัย ( مُتَشَابِهَاتٌ ) เรื่องบทกวีหรือรูปภาพที่สามารถ ตี ความ ได้เผย ให้เห็นความหมายที่ซ่อนโดยทั่วไปหรือศีลธรรมทางการเมืองอย่างใด อย่างหนึ่ง
การอุปมา
เป็นวาทศิลป์ ในการใช้คำพูดในรูปแบบเปรียบเทียบที่ให้ความหมายเป็นอีกอย่างหนึ่งซึ่งไม่ตรงความ หมายที่ เป็น ความจริง
ตัวอย่าง 1.
กรุงเทพฯเป็นหัวใจของประเทศไทย
ในที่นี้ กรุงเทพฯไม่ใช่อวัยวะหัวใจที่แท้จริง,แต่สามารถที่จะเปรียบเทียบว่าเป็นศูนย์กลางของความตื่นเต้น ของเมืองไทย
ตัวอย่าง 2.
เชคซอแล ก็คือสุนัขจิ้งจอก ดีๆนี่เอง,หมายความว่าท่านเชคผู้นี้มีเล่ห์เหลี่ยมประดุจสุนัขจิ้งจอก ความหมายอยู่ที่อุปนิสัยของท่านเชคที่เป็น คนเจ้าเล่ห์ แต่ไม่ได้เป็นสุนัขจิ้งจอก
แต่ถ้าเรากล่าวว่า ท่านเชคเป็นคนเจ้าเล่ห์ เช่นเดียวกับสุนัขจิ้งจอกคำกล่าวเช่นนี้ไม่ใช่การ อุปมา
แต่เป็นการเปรียบเทียบความคล้ายคลึงของอุปนิสัยของท่านเชคและอุปนิสัยของสุนัขจิ้งจอก
ตัวอย่างที่ 3
ในตัวอย่างนี้ไม่มีการเปรียบเทียบผู้ใดเป็น สุนัขจิ้งจอก
ประโยคที่ว่า “สมาชิกมุสลิมบางคน หลีกเลี่ยงการตอบคำถามของสมาชิกอย่างตรงไปตรงมา โดย ใช้วาทศิลป์แบบสุนัขจิ้งจอก”
ประโยคนี้ก็เช่นเดียวกันเป็นการอุปมัย ลักษณะและชั้นเชิงการ ใช้เล่ห์เหลี่ยมเล่ห์กล ในการตอบ คำถาม ในรูปแบบ ของสุนัขจิ้งจอกในนิทานสุภาษิต ซึ่งไม่ใช่ สุนัขจิ้งจอกตามธรรมชาติ แต่เป็นที่รู้ กัน ในหมู่ผู้ที่ได้อ่าน หรือได้ฟัง เล่ห์เหลี่ยมของสุนัขจิ้งจอกจากนิทานสุภาษิต
ส่วนมากของมุสลิมในปัจจุบันเข้าใจคำว่า "การนับถือพระเจ้าองค์เดียว" อย่างไร?
เมื่อผมอ่านดูการเปรียบเทียบของคุณฮุไซนีย์ ใน 106-1 ใน กระทู้ http://ppantip.com/topic/34050691/desktop ผมจึงทราบได้ว่าคุณไม่รู้จักวิธีการใช้ ความรู้วาทศิลป์ ตามวิชาการ مَجَاز ตามที่คุณ คิดว่าคุณเข้าใจ
ถ้าผมจะเปรียบให้พุทธสมาชิกที่เข้ามาอ่าน ก็จะเปรียบ การ ใช้วาทศิลป์ ตามวิชาการ مَجَاز ได้ดังนี้ อัลกุรอานใช้ศัพท์ อธิบายประโยคชนิดนี้ว่า ประโยคที่มี ความหมายที่ซับซ้อน เป็นนัย (مُتَشَابِهَاتٌ) ซึ่ง มีใช้อยู่ในคัมภีร์ ของทุกๆศาสนา
ตัวอย่างเช่น: ใน เรื่องชาดก; ในพุทธศาสนา..
องค์คุลีมาลได้ถามไปยังพระพุทธองค์ว่า ข้าฯวิ่งไล่ฆ่าท่าน ทำไมท่านไม่หยุดให้เราฆ่า พระพุทธองค์ ทรงตอบว่า “เรานะหยุดแล้วแต่ท่านซิยังไม่หยุด”
ประโยคที่ว่า,“เรานะหยุดแล้วแต่ท่านซิยังไม่หยุด” ประโยคนี้เป็นการเขียนสำนวน مَجَاز เปรียบได้กับประโยค مُتَشَابِهَاتٌ ในศาสนาอิสลาม
อัลกุรอาน:ซูเราะฮฺฏอฮา (บท ฏอฮา) บัญญัติ ที่ 5…
{20:5} ผู้ทรงกรุณาปรานี ทรงสถิตย์อยู่บนบัลลังก์
ในบัญญัตินี้ มีความหมายซับซ้อน คือ “ผู้ทรงกรุณาปรานี” หมายถึง พระเจ้า/อัลลอฮ์
“ทรงสถิตย์อยู่บนบัลลังก์” ความหมายที่มีความเป็นนัย ซับซัอน หมายถึง “ผู้ทรงอำนาจเหนือทุกๆสิ่ง ทุกๆอย่าง ทั้งภายนอกและภายในจักวาล”
คุณพอจะเข้าใจได้ไหมครับคุณฮุไซนี
อะไรคิอ วิชาการ مَجَاز
مَجَاز เป็นเป็นคำนาม บอกสถานที่และเป็นคำนามที่มาจากคำกริยา جَازَ มาจากรากศัพท์ ج و ز
1.การอุปมา
อุปมา เป็นการกล่าวเปรียบเปรยโดยนัยโดยใช้คำว่า ดุจ, ดั่ง, ราว, เสมือน มีความหมายเชิง เปรียบเทียบเช่นเดียวกับอุปลักษณ์ แต่อุปมาจะเปรียบเทียบระหว่างสองสิ่ง และหลงเหลือ แต่เพียงความคล้ายกันของสองสิ่งนั้น ในขณะที่อุปลักษณ์จะเปรียบเทียบโดยตรง
2.จินตนาการ
จินตนาการ เป็นความสามารถในการการสร้างภาพในความคิดจากการเขียนหรือการพูด,ซึ่งภาพเหล่านี้ไม่ได้รับรู้ผ่าน การมองเห็น การได้ยิน หรือผ่านวิธีการรับรู้อื่น ๆ จินตนาการถือได้ว่าเป็นตัวช่วยสำคัญในการนำความรู้ไปใช้งานจริงและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และยังเป็นรากฐานในการรวมประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้เข้าด้วยกันการฝึกการสร้างจินตนาการ สามารถทำ ได้โดยการฟังเรื่องเล่า
3. การเปรียบเทียบอุปมาสัญลักษณ์/สัญลักษณ์เรื่องปรียบเทียบ สัญลักษณ์/นิทานสุภาษิต/ยกตัวอย่างเปรียบเทียบอย่างเป็นนัย ( مُتَشَابِهَاتٌ ) เรื่องบทกวีหรือรูปภาพที่สามารถ ตี ความ ได้เผย ให้เห็นความหมายที่ซ่อนโดยทั่วไปหรือศีลธรรมทางการเมืองอย่างใด อย่างหนึ่ง
การอุปมา
เป็นวาทศิลป์ ในการใช้คำพูดในรูปแบบเปรียบเทียบที่ให้ความหมายเป็นอีกอย่างหนึ่งซึ่งไม่ตรงความ หมายที่ เป็น ความจริง
ตัวอย่าง 1.
กรุงเทพฯเป็นหัวใจของประเทศไทย
ในที่นี้ กรุงเทพฯไม่ใช่อวัยวะหัวใจที่แท้จริง,แต่สามารถที่จะเปรียบเทียบว่าเป็นศูนย์กลางของความตื่นเต้น ของเมืองไทย
ตัวอย่าง 2.
เชคซอแล ก็คือสุนัขจิ้งจอก ดีๆนี่เอง,หมายความว่าท่านเชคผู้นี้มีเล่ห์เหลี่ยมประดุจสุนัขจิ้งจอก ความหมายอยู่ที่อุปนิสัยของท่านเชคที่เป็น คนเจ้าเล่ห์ แต่ไม่ได้เป็นสุนัขจิ้งจอก
แต่ถ้าเรากล่าวว่า ท่านเชคเป็นคนเจ้าเล่ห์ เช่นเดียวกับสุนัขจิ้งจอกคำกล่าวเช่นนี้ไม่ใช่การ อุปมา
แต่เป็นการเปรียบเทียบความคล้ายคลึงของอุปนิสัยของท่านเชคและอุปนิสัยของสุนัขจิ้งจอก
ตัวอย่างที่ 3
ในตัวอย่างนี้ไม่มีการเปรียบเทียบผู้ใดเป็น สุนัขจิ้งจอก
ประโยคที่ว่า “สมาชิกมุสลิมบางคน หลีกเลี่ยงการตอบคำถามของสมาชิกอย่างตรงไปตรงมา โดย ใช้วาทศิลป์แบบสุนัขจิ้งจอก”
ประโยคนี้ก็เช่นเดียวกันเป็นการอุปมัย ลักษณะและชั้นเชิงการ ใช้เล่ห์เหลี่ยมเล่ห์กล ในการตอบ คำถาม ในรูปแบบ ของสุนัขจิ้งจอกในนิทานสุภาษิต ซึ่งไม่ใช่ สุนัขจิ้งจอกตามธรรมชาติ แต่เป็นที่รู้ กัน ในหมู่ผู้ที่ได้อ่าน หรือได้ฟัง เล่ห์เหลี่ยมของสุนัขจิ้งจอกจากนิทานสุภาษิต