ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปแบบหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนรูปแบบของพลังงานได้ เช่น พลังงานแสง , พลังงานความร้อน , พลังงานกล , พลังงานเสียง ฯลฯ ไฟฟ้าไม่สามารถมองเห็นได้ มีประโยชน์และมีโทษเช่นเดียวกัน
Tip - ค่าความต้านทานคนเราประมาณ 600,000 โอห์ม
Tip - ค่าความต้านทานคนเราเวลาเปียกน้ำ 1,000 โอห์ม
Tip - ฉะนั้นคนเราเวลาเปียกน้ำจะมีโอกาสถูกไฟฟ้าดูดมากกว่าและรุนแรงกว่าหลายเท่า
ประจุไฟฟ้า คือ เป็นคุณสมบัติพื้นฐานถาวรหนึ่งของอนุภาคซึ่งเล็กกว่าอะตอม (subatomic particle) เป็นคุณสมบัติที่กำหนดปฏิกิริยาแม่เหล็กไฟฟ้า สสารที่มีประจุไฟฟ้านั้นจะสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็จะได้รับผลกระทบจากสนามด้วยเช่นกัน ปฏิกิริยาตอบสนองระหว่างประจุและสนาม เป็นหนึ่งในสี่ของแรงพื้นฐาน เรียกว่าแรงแม่เหล็กไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า คือ การไหลของประจุไฟฟ้าต่อเวลา
สูตร การไหลของไฟฟ้าต่อเวลา
I = Q / t
I = กระแสไฟฟ้า (A)
Q = ประจุไฟฟ้า (C)
t = เวลา (sec)
Tip - สนามไฟฟ้าเดินทางด้วยความเร็ว = 1,079,252,848.8 km/hr หรือ 297,600 km/sec (เร็วเทียบเท่ากับความเร็วแสง)
กระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวกไปขั้วลบและจะไหลบริเวณผิวของตัวนำเท่านั้น
แรงดันไฟฟ้า คือ งานที่ได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
สูตร การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
V = W / Q
V = แรงดันไฟฟ้า (V)
W = งาน (J)
Q = ประจุไฟฟ้า (C)
กำลังไฟฟ้า คือ อัตราการทำงานต่อหนึ่งหน่วยเวลา
P = W / t
P = กำลังไฟฟ้า (W)
W = งาน (J)
t = เวลา (sec)
ไฟฟ้า มี 2 ชนิด คือ
1.
ไฟฟ้าสถิตย์ คือ เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน และไม่เคลื่อนที่ (จึงเรียกว่า สถิตย์) จนกระทั่งมีการถ่ายเทประจุ หรือเกิดการไหลของอิเล็กตรอน กลายเป็นไฟฟ้ากระแส ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูดหรือการผลักกัน แต่ไม่เกิดประกายไฟ
2.
ไฟฟ้ากระแส คือ ไฟฟ้าที่เกิดจากมนุษย์เป็นผู้สร้าง อาจมาจาก เครื่องกำเนิดไฟฟ้า , แบตเตอร์รี่ ฯลฯ โดยมีทั้งไฟฟ้ากระแสตรง (DC) และกระแสสลับ (AC)
ไฟฟ้ากระแสตรง (DC =
Direct
Current)
ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC =
Alternation
Current)
ไฟฟ้าสามารถเปลี่ยนรูปแบบพลังงานได้ 4 แบบคือ
1.
พลังงานแสง เช่น หลอดไฟ
2.
พลังงานเสียง เช่น ลำโพง , เตาไฟฟ้า , กริ่งไฟฟ้า
3.
พลังงานความร้อน เช่น กระทะไฟฟ้า , ฮีตเตอร์ , หม้อหุงข้าว , กระติกน้ำร้อน
4.
พลังงานกล เช่น มอเตอร์ , โซลินอยด์ , แม่เหล็กไฟฟ้า
องค์ประกอบทางไฟฟ้า มี 3 ส่วน
1.แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่สามารถจ่ายหรือผลิตพลังงานไฟฟ้าได้
-DC = ไดนาโม , แบตเตอร์รี่ , โซลาร์เซลล์ , เจเนอร์เรเตอร์ , Fuel Cell
-AC = อัลเทอร์เนเตอร์ , อินเวอร์เตอร์ ฯลฯ
2.ตัวนำทางไฟฟ้า คือ วัสดุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันได้ เช่น ทองแดง , เงิน , อลูมิเนียม , เหล็ก , สังกะสี , ทองคำ , น้ำ , ทองเหลือง , ตะกั่ว , ดีบุก ฯลฯ
3.ความต้านทานทางไฟฟ้า คือ วัสดุหรืออุปกรณ์มีความต้านทานทางไฟฟ้า หรือ เปลี่ยนรูปแบบพลังงานทางไฟฟ้า เช่น มอเตอร์ , หลอดไฟ , TV , เครื่องเสียง , ฯลฯ
Tip - เงิน นำกระแสไฟฟ้าได้ดีที่สุด , ทองคำ รองลงมา , ทองคำขาว รองจากทองคำ
เลขชี้กำลัง
หน่วย
V = แรงดันไฟฟ้า
A = กระแสไฟฟ้า
โอห์ม = ความต้านทานไฟฟ้า
W = กำลังไฟฟ้า
C = ประจุไฟฟ้า
Hz = ความถี่
db = ความดังของเสียง
m = ระยะทาง
g = กรัม
L = ปริมาตร
sec = เวลา
เทรา T m 10
12 = 1,000,000,000,000
จิกกะ G m 10
9 = 1,000,000,000
เมกะ M m 10
6 = 1,000,000
กิโล K m 10
3 = 1,000
- m 10
0 = 1
มิลลิ m m 10
-3 = 0.001
ไมโคร μ m 10
-6 = 0.000001
นาโน n m 10
-9 = 0.000000001
พิกโก้ p m 10
-12 = 0.000000000001
วงจรไฟฟ้า ตอน ประจุไฟฟ้า
Tip - ค่าความต้านทานคนเราประมาณ 600,000 โอห์ม
Tip - ค่าความต้านทานคนเราเวลาเปียกน้ำ 1,000 โอห์ม
Tip - ฉะนั้นคนเราเวลาเปียกน้ำจะมีโอกาสถูกไฟฟ้าดูดมากกว่าและรุนแรงกว่าหลายเท่า
ประจุไฟฟ้า คือ เป็นคุณสมบัติพื้นฐานถาวรหนึ่งของอนุภาคซึ่งเล็กกว่าอะตอม (subatomic particle) เป็นคุณสมบัติที่กำหนดปฏิกิริยาแม่เหล็กไฟฟ้า สสารที่มีประจุไฟฟ้านั้นจะสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็จะได้รับผลกระทบจากสนามด้วยเช่นกัน ปฏิกิริยาตอบสนองระหว่างประจุและสนาม เป็นหนึ่งในสี่ของแรงพื้นฐาน เรียกว่าแรงแม่เหล็กไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า คือ การไหลของประจุไฟฟ้าต่อเวลา
สูตร การไหลของไฟฟ้าต่อเวลา
I = Q / t
I = กระแสไฟฟ้า (A)
Q = ประจุไฟฟ้า (C)
t = เวลา (sec)
Tip - สนามไฟฟ้าเดินทางด้วยความเร็ว = 1,079,252,848.8 km/hr หรือ 297,600 km/sec (เร็วเทียบเท่ากับความเร็วแสง)
กระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวกไปขั้วลบและจะไหลบริเวณผิวของตัวนำเท่านั้น
แรงดันไฟฟ้า คือ งานที่ได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
สูตร การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
V = W / Q
V = แรงดันไฟฟ้า (V)
W = งาน (J)
Q = ประจุไฟฟ้า (C)
กำลังไฟฟ้า คือ อัตราการทำงานต่อหนึ่งหน่วยเวลา
P = W / t
P = กำลังไฟฟ้า (W)
W = งาน (J)
t = เวลา (sec)
ไฟฟ้า มี 2 ชนิด คือ
1.ไฟฟ้าสถิตย์ คือ เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน และไม่เคลื่อนที่ (จึงเรียกว่า สถิตย์) จนกระทั่งมีการถ่ายเทประจุ หรือเกิดการไหลของอิเล็กตรอน กลายเป็นไฟฟ้ากระแส ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูดหรือการผลักกัน แต่ไม่เกิดประกายไฟ
2.ไฟฟ้ากระแส คือ ไฟฟ้าที่เกิดจากมนุษย์เป็นผู้สร้าง อาจมาจาก เครื่องกำเนิดไฟฟ้า , แบตเตอร์รี่ ฯลฯ โดยมีทั้งไฟฟ้ากระแสตรง (DC) และกระแสสลับ (AC)
ไฟฟ้ากระแสตรง (DC = Direct Current)
ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC = Alternation Current)
ไฟฟ้าสามารถเปลี่ยนรูปแบบพลังงานได้ 4 แบบคือ
1.พลังงานแสง เช่น หลอดไฟ
2.พลังงานเสียง เช่น ลำโพง , เตาไฟฟ้า , กริ่งไฟฟ้า
3.พลังงานความร้อน เช่น กระทะไฟฟ้า , ฮีตเตอร์ , หม้อหุงข้าว , กระติกน้ำร้อน
4.พลังงานกล เช่น มอเตอร์ , โซลินอยด์ , แม่เหล็กไฟฟ้า
องค์ประกอบทางไฟฟ้า มี 3 ส่วน
1.แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่สามารถจ่ายหรือผลิตพลังงานไฟฟ้าได้
-DC = ไดนาโม , แบตเตอร์รี่ , โซลาร์เซลล์ , เจเนอร์เรเตอร์ , Fuel Cell
-AC = อัลเทอร์เนเตอร์ , อินเวอร์เตอร์ ฯลฯ
2.ตัวนำทางไฟฟ้า คือ วัสดุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันได้ เช่น ทองแดง , เงิน , อลูมิเนียม , เหล็ก , สังกะสี , ทองคำ , น้ำ , ทองเหลือง , ตะกั่ว , ดีบุก ฯลฯ
3.ความต้านทานทางไฟฟ้า คือ วัสดุหรืออุปกรณ์มีความต้านทานทางไฟฟ้า หรือ เปลี่ยนรูปแบบพลังงานทางไฟฟ้า เช่น มอเตอร์ , หลอดไฟ , TV , เครื่องเสียง , ฯลฯ
Tip - เงิน นำกระแสไฟฟ้าได้ดีที่สุด , ทองคำ รองลงมา , ทองคำขาว รองจากทองคำ
เลขชี้กำลัง
หน่วย
V = แรงดันไฟฟ้า
A = กระแสไฟฟ้า
โอห์ม = ความต้านทานไฟฟ้า
W = กำลังไฟฟ้า
C = ประจุไฟฟ้า
Hz = ความถี่
db = ความดังของเสียง
m = ระยะทาง
g = กรัม
L = ปริมาตร
sec = เวลา
เทรา T m 1012 = 1,000,000,000,000
จิกกะ G m 109 = 1,000,000,000
เมกะ M m 106 = 1,000,000
กิโล K m 103 = 1,000
- m 100 = 1
มิลลิ m m 10-3 = 0.001
ไมโคร μ m 10-6 = 0.000001
นาโน n m 10-9 = 0.000000001
พิกโก้ p m 10-12 = 0.000000000001