เกาหลีเตือนลีกจีนระวังซ้ำรอยพลาดเจลีก Naver 11/08/58

สื่อเกาหลีเขาจับประเด็นเรื่อง Chinese Super League ลงเงินมากมายดึงนักเตะค่าตัวแพงไปร่วมทีม โดยพยายามเปรียบให้เห็นว่าเจลีกของญี่ปุ่นในยุค 1990 ก็เคยดึงนักเตะดังๆไปโดยทุ่มเงินมหาศาล อ่านบทความนี้แล้วจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็แล้วแต่จะตรองดูครับ

----------------------------------

中 Super League may follow the mistakes of 日 J League

ไชนีสซุปเปอร์ลีกอาจจะซ้ำรอยผิดพลาดของเจลีกได้

recent world football market is changing rapidly. China has at its center. Apseun China is a huge capital while the blood of the star names in their league, if not Europe emerged as a new variable to the transfer flow of players headed to the Middle East or the United States. Naturally there is also nervous neighbors South Korea and Japan. Pain that sent the country ttwideon good player in the K-League and J-League China Super League was also inevitably suffer. Claiming that the real investment needs and a relatively small domestic market for reflection on football days while the football in South Korea and Japan were also bring the diverse perspectives about the volume of the Chinese offensive.


ตลาดฟุตบอลระดับโลกเปลี่ยนไปเร็วมาก ประเทศจีนกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางใหญ่ที่ดึงดูดนักเตะระดับดารามาเล่น ถ้าไม่นับยุโรปแล้วที่เหลือก็เห็นจะมีตะวันออกกกลางและสหรัฐฯ ซึ่งสถานการณ์นี้ก็ทำให้เพื่อนบ้านอย่างเกาหลีใต้และญี่ปุ่นตื่นๆเหมือนกัน เพราะเคลีกและเจลีกก็กระอักเพราะโดนลีกจีนดึงนักเตะไปอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นั่นทำให้เกิดความคิดว่าถ้าจะสู้กับจีนก็จำเป็นต้องลงทุนให้มากขึ้นแต่ตลาดบอลในเกาหลีและญี่ปุ่นก้เล็กเมื่อเทียบกับจีน(จึงอาจไม่คุ้ม)

A Japanese journalist has passed one of these interesting story I gave. Fuji TV reporter met Naoki Okumura East Asian Cup held in China, Wuhan is predicting that"the Chinese Super League may still experience a decline in the Japanese J League in the next few years." Signing foreign players was the view that spendingmoney on a lot of the Super League is nowthe scenery and they were mistakes of the 1990s resembles the J-League in Japan and China followed literally. J League veteran rush of the 1990s that the name is released Okumura opinion reporter The background to the 1990s when the Japanese J-League is the leap days of the new season. 1993 J-League took a lot of money to attract veteran players that have since launched a reputation in the contemporary world. Making their debut in the league was to give the best to provide the best attractions football fans. Players are likely to know the name of the school was then hear anyone quilted throw the J-League. Gary Lineker England's national team is called the Legend was active in Nagoya Grampus FC between 1993 and 1994, he worked in both Barcelona and Real Madrid which continues the director Michael goes through life such as whetherthe current Swansea City and Les loud kwiya Europe has also played Vissel Kobe wearing uniforms between 1996 and 1997 bar. Carlos parity was clutching the baton of the Brazilian national team is also jjikdeon from the pinnacle of his career in 1995 as Jubilo Iwata between 1998 and 2000, such as Brazil bebeto The topic has sown bar to join the Kashima Antlers in March. Good group composition as the J-League soccer environment while also moving en masse to South Korea player was also the composition of the J-League boom. The effect of big signings are expected only disappointment came back. Star with money and bringing them to market is the way to raise the limit was notthe right answer was to go the league.

ผู้สื่อข่าว ฟูจิ ทีวี ของญี่ปุ่นที่ชื่อ นาโอกิ โอคุมูระ ที่มาทำข่าวบอล EAFF 2015 ที่หวูฮั่น ประเทศจีน ได้แชร์ข้อมูลให้ผุ้เขียนบทความ(คิมเฮืองมิน)ฟังว่า "ไชนีส ซุปเปอร์ลีกอาจเดินทางไปสู่จุดตกต่ำภายในอีก 2-3 ปีเหมือนอย่างที่เจลีกเคยตกต่ำในอดีต""การดึงตัวนักเตะดังๆด้วยมูลค่าสัญญามหาศาลทุกวันนี้ของจีนก็เหมือนกับที่เจลีกทำเมื่อทศวรรษ 1990 ตอนสมัยยุคแรกๆของเจลีกนั้นในปี 1993 ทีมในเจลีกทุ่มเงินมหาศาลดึงนักเตะเก๋าๆระดับโลกมา การนำเอานักเตะเหล่านี้มาก็เพื่อดึงคนดูในเจลีก ยกตัวอย่างเช่น แกรี่ ลินิเกอร์ อดีตทีมชาติอังกฤษ ที่เคยมา นาโกย่า แกรมปัส ในช่วง 1993-94 ไมเคิล เลาดรุ๊ป อดีตกุนซือสวอนซี ในสมัยเป็นยอดนักเตะผ่านทีมใหญ่อย่างบาร์เซโลน่าและเรอัล มาดริด มาแล้วก็เคยมาอยู่กับ วิสเซิล โกเบ ช่วง 1996-97 คาลอส ดุงก้า กุนซือทีมชาติบราซิลและอดีตกัปตันทีมแชมป์โลกก้เคยมาเล่นให้ จูบิโล่ อิวาตะ ช่วง 1995-98 และเบเบโต้ ก็เคยมาคาชิม่า แอนท์เลอร์ ปี 2000 ในช่วงที่เจลีกบูมช่วงนั้นถือว่าเจลีกมีส่วนผสมที่ดีระหว่างนักเตะมีชื่อเหล่านี้กับนักเตะอิมพอร์ตจากเกาหลีใต้ แต่ปรากฏว่าการดึงเหล่านักเตะมีชื่อเสียงในอดีตของเจลีกนั้นนำมาซึ่งความผิดหวัง การทุ่มเงินดึงนักเตะสตาร์ไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้องของเจลีก

Okumura is "J League has the late 1990s, and he was a very gradual decline in the early 2000s as a starting point past the crisis behind bars right investment," he said "J League recently realized the seriousness ties between the city and the club While sticky strengthen breakthrough.China now can be seen as it also follow that procedure in the past that the Japanese, "he said. Foreign players are also clearly risks having a natural story, but why look at foreign players has also negligible risk Can not. So-called "eat and leave" no less likely to be. Most often the problem that the brew from the self-management and integrity. The relationship between each other is also made of money can happen enough. Japanese J-League also came reluctantly made of such failure. Bebeto was a big success with the Brazilian national team, he poses exceptional gave only disappointment to the tune of nine deulyeotdeon come to the J-League. Maroni is the visible one wonders bebeto$ 1.38 million in 2000 (USD about 16 billion won) at best mere one goal in eight gamesdue to a knee injury.


โอคุมุระ บอกว่า เจลีกในช่วงปลายทศวรรษ 1990 เริ่มตกต่ำลงช้าๆและในช่วงต้นสหัสวรรษ 2000 ก็เป็นจุดเริ่มต้นของวิกฤตการณ์""ในเวลาต่อมาเจลีกรู้ซึ้งแล้วว่าความเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างทีมและเมืองนั้นสำคัญขนาดไหน(ให้ความหมายว่าการลงทุนทำกิจกรรมสัมพันธ์เพื่อดึงแฟนบอลนั้นคือสิ่งสำคัญกว่าการซื้อนักเตะแพงๆ ซึ่งเรื่องนี้ผู้สื่อข่าวเกาหลีบ่งชี้มาตลอดและเคยเปรียบกับ TPL ด้วยซ้ำว่า หลายทีมในเคลีกเป็นทีมใหญ่ขององค์กรธุรกิจ ซึ่งผู้บริหารทีมเหล่านี้ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการลงงบเพื่อทำกิจกรรมสื่อสารดึงแฟนบอลท้องถิ่น ทำให้ทีมใหญ่ๆเหล่านี้มีคนดูไม่มากเท่าที่ควร ผิดกับ TPL ที่แม้คุณภาพเชิงเทคนิกของฟุตบอลเป็นรองเคลีกแต่ในแง่การตลาดและการลงทุนเรื่องแฟนบอลกลับดีกว่า) จะเห็นว่าตอนนี้ลีกจีนกำลังเดินตามรอยในอดีตของเจลีก" เมื่อดูจากนักเตะต่างชาติที่มาจะเห็นว่ามีภาวะ"ได้เงินแล้วก็ไป" ซึ่งปัญหาใหญ่ส่วนหนึ่งก็มาจากการบริหารภายในและความโปร่งใสด้วย การที่ทีมใช้เงินซื้อมากๆทำให้ความสัมพันธ์ในทีมก็เป็นเรื่องเงิน ทีมในเจลีกในอดีตก็เคยล้มเหลวมาแล้ว เคสของเบเบโต้ ที่ประสบความสำเร็จกับทีมชาติบราซิล แต่มาเจลีกก็น่าผิดหวังมีอาการเจ็บเข่าจึงลงสนามแค่ 8 นัดยิงไปแค่ 1 ประตู ทั้งที่ค่าตัว 1.38 ล้านเหรียญสหรัฐฯในปี 2000 (ประมาณ 49 ล้านบาท)

Robinho suffered extreme example is Guangzhou Evergrande Football Club jersey getting a lot of money which is to beseen how many games will leap to the nextseason. In addition, there is a map to these questions cohesion of the team. How much the game has a soft spot for the team, then I neunyaneun the homework to be solved. Now is that a lot of getting money to come to a team plays a good team even someday expand rather than salaries because the money came to see people leave the ground rise or lower. Okumura is "in recent years, China has a lot of good players coming out," said " To run the game, players from Europe in this situation again challenge the Super League, but in the end are the players who could leave right away for next year does not have any money. Now the situation is difficult to see as a good thing, "he said. external China eyes there are also concerns mixed positive outlook. A Chinese journalist influx of foreign players now can lead to the development of skills that will help national players and looked to the unity of the whole nation and the revival of football. However, if this is also the risk of sungineung much. Depending on how far and possibilities of future development depends. Currently in China, which is resolutely open the wallet can forward all the attention and support they bring to any ending.


ในวันนี้ โรบินโย่ ก็มา กว่างโจว เอเวอแกรนด์ ด้วยเงินมหาศาล ก็ต้องดูกันว่าจะได้ลงสนามกี่นัดกัน มากไปกว่านั้น(อีก 2 ประโยคแปลไม่ออก) โอคุมุระ กล่าวต่อว่า "ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีนักเตะจีนดีๆที่ออกไปจากไชนีสซุปเปอร์ลีกหลายคน ทีมในลีกจึงต้องพึ่งพาตัวยุโรปในการทำเกม แต่ในที่สุดนักเตะต่างชาติก็ประเภทบทจะไปก็ไปดังนั้นสถานการ์แบบนี้จึงไม่ดี" สายตาภายนอกที่มองไปที่จีนนั้นผสมปนเประหว่างการเห็นแนวโน้มที่ดีกับความน่าเป็นห่วง ผู้สื่อข่าวจีนบอกว่าการหลั่งไหลเข้าจีนของนักเตะต่างชาติจะนำมาซึ่งการพัฒนาทักษะนักเตะจีนในลีกซึ่งจะส่งผลดีต่อทีมชาติจีน แต่ก็มีความเสี่ยงมาก ก็ขึ้นกับอนาคตแล้วว่าจะมีแผนพัฒนาอย่างไร ส่วนตอนนี้ในจีนมันก็คือการจ่ายหนักๆเช่นนี้อาจนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีหรือไม่ดีก็ได้

Source http://sports.news.naver.com/sports/index.nhn?category=soccer&ctg=news&mod=read&office_id=311&article_id=0000505647

แปลเป็นอังกฤษ โดย Google Translate

เครดิต >> คุณ NTT / Thailandsusu

http://www.thailandsusu.com/webboard/index.php?topic=358672.0;wap
แสดงความคิดเห็น
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ  ฟุตบอลไทย ฟุตบอล ฟุตบอลต่างประเทศ
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่