What ingredients are comedogenic?
สารก่อสิวในเครื่องสำอาง
ในปัจจุบันมีครีมและเครื่องสำอางมากมายไม่ว่าที่ใช้กับใบหน้าเราหรือเรือนร่างของเราเอง และบางครั้งก็มีบางคนประสบปัญหาสิวขึ้น แก้ไม่หาย ไม่รู้เกิดจากอะไร ไปถามเพื่อน”เธอใช้แล้วเป็นไง สิวขึ้นไหม???” มากมายจนไม่รู้ว่า สรุปแล้วเกิดจากอะไร ไปหาหมอแล้วสิวก็ไม่หาย “นู่นนี่นั่นมากมายเต็มไปหมด”
คุณเคยดูส่วนประกอบในเครื่องสำอางที่คุณใช้หรือไหมว่ามีอะไร และสารตัวไหนที่ทำให้เกิดสิวเกิดการอุดตัน ในครั้งนี้ขอพูดถึงสารในเครื่องสำอางบางตัวที่ก่อให้เกิดสิวหรือเกิดการอุดตันได้
( สารที่จะบอกต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้เกิดสิวหรือเกิดการอุดตันกับทุกคนแต่เฉพาะบงคนเท่านั้นที่มีผิวที่ไวต่อสาร )
อีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะพิจารณาคือ เครื่องสำอางบางตัวอาดจะมี่สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันได้แต่ถ้ามีในปริมาณที่น้อยหรือต่ำ ก็อาดไม่ทำให้เกิดปัญหาการอุดตันได้เช่นกัน
กลุ่ม Artificial Color หรือสีสังเคราะห์
สีสังเคาะห์มักจะทำให้ผิวหน้าเกิดอาการระคายเคืองจนเป็นบ่อเกิดของสิว อักเสบ และถ้ามีเป็นส่วนผสมอยู่ในลิปสติกหรือบลัชออนแบบครีม ก็อาจทำให้เกิดสิวบริเวณรอบปากหรือข้างแก้ม นอกจากนั้นสีบางตัวยังเป็นสารก่อมะเร็งอีกด้วย วิธีสังเกตคือ เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของสีสังเคราะห์ จะมีคำว่า FD&C อยู่บนฉลาก
กลุ่ม Mineral Oil
อาจมาในรูป Petroleum Jell หรือ Wax ซึ่งมันจะก่อตัวเป็นฟิลม์บางๆ เคลือบผิวหน้า ทำให้เซลล์ที่ตายแล้วกับเชื้อแบคทีเรียอุดตันอยู่ภายใน ก่อให้เกิดสิวอักเสบตามมา หรือ อาจเป็นสิวหัวขาวด้วยก็ได้ นอกจากนั้นมันยังเป็นสารสังเคราะห์ปิโตรเลียม ซึ่งไม่ดีกับผิวและร่างกายนัก
นอกจากนั้น สำหรับคนที่ผิวมันมาก แนะนำให้หลีกเลี่ยงเครื่องสำอางหรือครีมบำรุงผิวช่วงกลางวันที่มีส่วนผสมของ Oil ไม่ว่าจะเป็น Oil จากธรรมชาติ หรือ Oil สังเคราะห์ เพราะความมันจะทำให้เกิดสิวง่ายขึ้นขึ้น และควรหลีกเลี่ยงเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของ Butter ด้วย (สารนี้อาจผสมอยู่ใน Lipstick ทำให้เนื้อนุ่มทาง่าย แต่ก็ทำให้เกิดสิวรอบปากได้ ใครที่เป็นสิวรอบปากบ่อยๆ อาจต้องลองเปลี่ยนลิปสติกดูค่ะ)
*** แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น Oil ไม่ได้สร้างหรือก่อให้เกิดการอุดตังทั้งหมดมีเฉพาะบางกลุ่มเท่านั้น****
กลุ่ม Lanolin
เรียกอีกอย่างว่า Sheep Sebum หรือไขมันแกะ เป็นน้ำมันที่สามารถซึมผ่านลงสู่ผิวได้ซึ่งใส่ลงมาเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับ ผิว สารเหล่านี้อาจดีกับคนที่มีผิวแห้งมากๆ แต่สำหรับคนที่หน้ามันง่าย เป็นสิวง่าย ส่วนผสมนี้ไม่เหมาะอย่างยิ่ง
Lanolin ที่ผสมในเครื่องสำอางอาจอยู่ในรูป Lanolin Alcohol, Acetylated lanolin, PEG75 Lanolin และในรูปอื่นๆ อีก แต่ส่วนมากมักจะมีคำว่า Lanolin กำกับอยู่
กลุ่ม Isopropyl Myristate
เป็นสารที่ช่วยทำให้คุณทาเครื่องสำอางได้ง่ายขึ้น เพิ่มความชุ่มชื่น รู้สึกเป็นมันวาว หรือบางชนิดยังทำให้คุณรู้สึกว่าหน้ามันน้อยลงได้อีกตะหาก แต่คุณรู้ไหมว่า มันเป็นกลุ่มที่ใช้กันสนิมในอาหารกระป๋องด้วย สารกลุ่มนี้ก็คือการทำให้เกิดสิวอุดตัน และเกิดอาการแพ้ค่ะ
สารกลุ่มนี้ที่พบบ่อย และเคมีอื่นๆ ใกล้เคียงกันก็ได้แก่ isopropyl palmitate, isopropyl isothermal, putty stearate, isostearyl neopentonate, myristyl myristate, decyl oleate, octyl sterate, octyl palmitate และ isocetyl stearate และ PPG myristyl propionate
กลุ่มเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของผง Mica
ประเภทที่ทาแล้วหน้าวาวๆ ดูใสปิ๊ง ผงไมก้านั้นเป็นอนุภาคที่เป็นแผ่นหยัก ทำให้เกิดความระคายเคืองต่อผิวและอาจเกิดสิวตามมาได้
กลุ่ม Artificial Fragranceหรือน้ำหอมสังเคราะห์
สารประเภทนี้สร้างความระคายเคือง ทำให้เกิดอาการแพ้ เป็นผื่นแดง และเกิดเป็นสิวอักเสบได้ จึงไม่เหมาะกับคนที่มีผิวแพ้ง่าย เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของน้ำหอมอยู่ มักจะระบุคำว่า Fragrance อยู่ไว้ด้วยค่ะ
สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันสูง
– Acetylated Lanolin
– Acetylated Lanolin Alcohol
– Algae Extract
– Algin
– Carrageenan
– Cetearyl Alcohol + Ceteareth 20
– Coal tar
– Cocoa Butter
– Coconut Butter
– Coconut Oil
– Disodium Monooleamido PEG 2-Sulfosuccinate
– Ethylhexyl Palmitate
– Glyceryl-3-Diisostearate
– Hexadecyl Alcohol
– Isocetyl Stearate
– Isodecyl Oleate
– Isopropyl Isostearate
– Isopropyl Myristate
– Isopropyl Palmitate
– Isostearyl Isostearate
– Laureth 4
– Lauric Acid
– Linseed Oil
– Myreth 3 Myristate
– Myristyl Lactate
– Myristyl Myristate
– Octyle Palmitate
– Octyl Stearate
– Oleth-3
– Oleyl Alcohol
– PEG 16 Lanolin
– Polyglyceryl-3-Diisostearate
– Propylene Glycol Monostearate
– Potassium Chloride
– PPG 2 Myristyl Propionate
– Red Algae
– Sodium Chloride (Salt)
– Sodium Lauryl Sulfate
– Sorbitan Sesquinoleate
– Stearyl Heptanoate
– Steareth 10
– Syearyl Heptanoate
– Wheat Germ Oil
– Xylene
สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันปานกลาง
– Butyl Stearate
– Colloidal Sulfur
– Corn Oil
– Cotton Aws Oil
– Cotton Seed Oil
– D & C Red # 3, 17, 21, 30, 36
– Decyl Oleate
– Dioctyl Succinate
– Ethoxylated Lanolin
– Glyceryl Stearate SE
– Hydrogenated Vegetable Oil
– Isostearyl Neopentanoate
– Laureth 23
– Mink Oil
– Myristic Acid
– PEG 200 Dilaurate
– PEG 8 Stearate
– PG Monostearate
– Shark Liver Oil
– Sodium Laureth Sulfate
– Solulan 16
– Sorbitan Oleate
– Soybean Oil
– Stearic Acid Tea
– Sulfated Castor Oil
– Sulfated Jojoba Oil
– Wheat Germ Glyceride
สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันต่ำ
– Almond Oil
– Apricot Kernel Oil
– Arachidic Acid
– Ascorbyl Palmitate
– Avocado Oil
– Azulene
– Benzaldehyde
– Benzoic Acid
– Beta carotene
– BHA
– Bubussa Oil
– Butylene glycol
– Cajeput Oil
– Calendula
– Camphor
– Candelilla Wax
– Capric Acid
– Caprylic Acid
– Carbomer 940
– Carnuba Wax
– Castor Oil
– Cetearyl Alcohol
– Cetyl alcohol
– Chamomile
– Chaulomoogra Oil
– D & C Red #4, 6,7, 9, 27, 33, 40
– Dimethicone
– Evening Primrose Oil
– Glyceryl Stearate NSE
– Glyceryl Tricapylo/Caprate
– Hexylene Glycol
– Hydrogenated Castor Oil
– Hydroxypropyl Cellulose
– Lanolin Oil
– Lanolin Wax
– Lithium Stearate
– Magnesium Stearate
– Oleth-10
– Olive Oil
– Palmitic Acid
– Peanut Oil
– PEG 100 Distearate
– PEG 100 Stearate
– PEG 150 Distearate
– PEG 20 Stearate
– Pentarythrital Tetra Isostearate
– PG Caprylate/Caprate
– PG Dicaprylate/Caprate
– PG Dipelargonate
– PG Dipelargonate
– Polyethylene Glycol (PEG 400)
– Polyethylene Glycol 300
– Sandalwood Seed Oil
– Sesame Oil
– Simethicone
– Sorbitan Laurate
– Squalane
– Steareth 2
– Steareth 20
– Stearic acid
– Stearyl Alcohol
– Talc
– Tocopherol
– Triethanolamine
– Vitamin A Palmitate
– Zinc Oxide
ที่ทา :
http://doodnees.blogspot.com/2015/08/what-ingredients-are-comedogenic.html#more
สารก่อสิวในเครื่องสำอาง
สารก่อสิวในเครื่องสำอาง
ในปัจจุบันมีครีมและเครื่องสำอางมากมายไม่ว่าที่ใช้กับใบหน้าเราหรือเรือนร่างของเราเอง และบางครั้งก็มีบางคนประสบปัญหาสิวขึ้น แก้ไม่หาย ไม่รู้เกิดจากอะไร ไปถามเพื่อน”เธอใช้แล้วเป็นไง สิวขึ้นไหม???” มากมายจนไม่รู้ว่า สรุปแล้วเกิดจากอะไร ไปหาหมอแล้วสิวก็ไม่หาย “นู่นนี่นั่นมากมายเต็มไปหมด”
คุณเคยดูส่วนประกอบในเครื่องสำอางที่คุณใช้หรือไหมว่ามีอะไร และสารตัวไหนที่ทำให้เกิดสิวเกิดการอุดตัน ในครั้งนี้ขอพูดถึงสารในเครื่องสำอางบางตัวที่ก่อให้เกิดสิวหรือเกิดการอุดตันได้ ( สารที่จะบอกต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้เกิดสิวหรือเกิดการอุดตันกับทุกคนแต่เฉพาะบงคนเท่านั้นที่มีผิวที่ไวต่อสาร )
อีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะพิจารณาคือ เครื่องสำอางบางตัวอาดจะมี่สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันได้แต่ถ้ามีในปริมาณที่น้อยหรือต่ำ ก็อาดไม่ทำให้เกิดปัญหาการอุดตันได้เช่นกัน
กลุ่ม Artificial Color หรือสีสังเคราะห์
สีสังเคาะห์มักจะทำให้ผิวหน้าเกิดอาการระคายเคืองจนเป็นบ่อเกิดของสิว อักเสบ และถ้ามีเป็นส่วนผสมอยู่ในลิปสติกหรือบลัชออนแบบครีม ก็อาจทำให้เกิดสิวบริเวณรอบปากหรือข้างแก้ม นอกจากนั้นสีบางตัวยังเป็นสารก่อมะเร็งอีกด้วย วิธีสังเกตคือ เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของสีสังเคราะห์ จะมีคำว่า FD&C อยู่บนฉลาก
กลุ่ม Mineral Oil
อาจมาในรูป Petroleum Jell หรือ Wax ซึ่งมันจะก่อตัวเป็นฟิลม์บางๆ เคลือบผิวหน้า ทำให้เซลล์ที่ตายแล้วกับเชื้อแบคทีเรียอุดตันอยู่ภายใน ก่อให้เกิดสิวอักเสบตามมา หรือ อาจเป็นสิวหัวขาวด้วยก็ได้ นอกจากนั้นมันยังเป็นสารสังเคราะห์ปิโตรเลียม ซึ่งไม่ดีกับผิวและร่างกายนัก
นอกจากนั้น สำหรับคนที่ผิวมันมาก แนะนำให้หลีกเลี่ยงเครื่องสำอางหรือครีมบำรุงผิวช่วงกลางวันที่มีส่วนผสมของ Oil ไม่ว่าจะเป็น Oil จากธรรมชาติ หรือ Oil สังเคราะห์ เพราะความมันจะทำให้เกิดสิวง่ายขึ้นขึ้น และควรหลีกเลี่ยงเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของ Butter ด้วย (สารนี้อาจผสมอยู่ใน Lipstick ทำให้เนื้อนุ่มทาง่าย แต่ก็ทำให้เกิดสิวรอบปากได้ ใครที่เป็นสิวรอบปากบ่อยๆ อาจต้องลองเปลี่ยนลิปสติกดูค่ะ)
*** แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น Oil ไม่ได้สร้างหรือก่อให้เกิดการอุดตังทั้งหมดมีเฉพาะบางกลุ่มเท่านั้น****
กลุ่ม Lanolin
เรียกอีกอย่างว่า Sheep Sebum หรือไขมันแกะ เป็นน้ำมันที่สามารถซึมผ่านลงสู่ผิวได้ซึ่งใส่ลงมาเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับ ผิว สารเหล่านี้อาจดีกับคนที่มีผิวแห้งมากๆ แต่สำหรับคนที่หน้ามันง่าย เป็นสิวง่าย ส่วนผสมนี้ไม่เหมาะอย่างยิ่ง
Lanolin ที่ผสมในเครื่องสำอางอาจอยู่ในรูป Lanolin Alcohol, Acetylated lanolin, PEG75 Lanolin และในรูปอื่นๆ อีก แต่ส่วนมากมักจะมีคำว่า Lanolin กำกับอยู่
กลุ่ม Isopropyl Myristate
เป็นสารที่ช่วยทำให้คุณทาเครื่องสำอางได้ง่ายขึ้น เพิ่มความชุ่มชื่น รู้สึกเป็นมันวาว หรือบางชนิดยังทำให้คุณรู้สึกว่าหน้ามันน้อยลงได้อีกตะหาก แต่คุณรู้ไหมว่า มันเป็นกลุ่มที่ใช้กันสนิมในอาหารกระป๋องด้วย สารกลุ่มนี้ก็คือการทำให้เกิดสิวอุดตัน และเกิดอาการแพ้ค่ะ
สารกลุ่มนี้ที่พบบ่อย และเคมีอื่นๆ ใกล้เคียงกันก็ได้แก่ isopropyl palmitate, isopropyl isothermal, putty stearate, isostearyl neopentonate, myristyl myristate, decyl oleate, octyl sterate, octyl palmitate และ isocetyl stearate และ PPG myristyl propionate
กลุ่มเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของผง Mica
ประเภทที่ทาแล้วหน้าวาวๆ ดูใสปิ๊ง ผงไมก้านั้นเป็นอนุภาคที่เป็นแผ่นหยัก ทำให้เกิดความระคายเคืองต่อผิวและอาจเกิดสิวตามมาได้
กลุ่ม Artificial Fragranceหรือน้ำหอมสังเคราะห์
สารประเภทนี้สร้างความระคายเคือง ทำให้เกิดอาการแพ้ เป็นผื่นแดง และเกิดเป็นสิวอักเสบได้ จึงไม่เหมาะกับคนที่มีผิวแพ้ง่าย เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของน้ำหอมอยู่ มักจะระบุคำว่า Fragrance อยู่ไว้ด้วยค่ะ
สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันสูง
– Acetylated Lanolin
– Acetylated Lanolin Alcohol
– Algae Extract
– Algin
– Carrageenan
– Cetearyl Alcohol + Ceteareth 20
– Coal tar
– Cocoa Butter
– Coconut Butter
– Coconut Oil
– Disodium Monooleamido PEG 2-Sulfosuccinate
– Ethylhexyl Palmitate
– Glyceryl-3-Diisostearate
– Hexadecyl Alcohol
– Isocetyl Stearate
– Isodecyl Oleate
– Isopropyl Isostearate
– Isopropyl Myristate
– Isopropyl Palmitate
– Isostearyl Isostearate
– Laureth 4
– Lauric Acid
– Linseed Oil
– Myreth 3 Myristate
– Myristyl Lactate
– Myristyl Myristate
– Octyle Palmitate
– Octyl Stearate
– Oleth-3
– Oleyl Alcohol
– PEG 16 Lanolin
– Polyglyceryl-3-Diisostearate
– Propylene Glycol Monostearate
– Potassium Chloride
– PPG 2 Myristyl Propionate
– Red Algae
– Sodium Chloride (Salt)
– Sodium Lauryl Sulfate
– Sorbitan Sesquinoleate
– Stearyl Heptanoate
– Steareth 10
– Syearyl Heptanoate
– Wheat Germ Oil
– Xylene
สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันปานกลาง
– Butyl Stearate
– Colloidal Sulfur
– Corn Oil
– Cotton Aws Oil
– Cotton Seed Oil
– D & C Red # 3, 17, 21, 30, 36
– Decyl Oleate
– Dioctyl Succinate
– Ethoxylated Lanolin
– Glyceryl Stearate SE
– Hydrogenated Vegetable Oil
– Isostearyl Neopentanoate
– Laureth 23
– Mink Oil
– Myristic Acid
– PEG 200 Dilaurate
– PEG 8 Stearate
– PG Monostearate
– Shark Liver Oil
– Sodium Laureth Sulfate
– Solulan 16
– Sorbitan Oleate
– Soybean Oil
– Stearic Acid Tea
– Sulfated Castor Oil
– Sulfated Jojoba Oil
– Wheat Germ Glyceride
สารที่อาดทำให้เกิดการอุดตันต่ำ
– Almond Oil
– Apricot Kernel Oil
– Arachidic Acid
– Ascorbyl Palmitate
– Avocado Oil
– Azulene
– Benzaldehyde
– Benzoic Acid
– Beta carotene
– BHA
– Bubussa Oil
– Butylene glycol
– Cajeput Oil
– Calendula
– Camphor
– Candelilla Wax
– Capric Acid
– Caprylic Acid
– Carbomer 940
– Carnuba Wax
– Castor Oil
– Cetearyl Alcohol
– Cetyl alcohol
– Chamomile
– Chaulomoogra Oil
– D & C Red #4, 6,7, 9, 27, 33, 40
– Dimethicone
– Evening Primrose Oil
– Glyceryl Stearate NSE
– Glyceryl Tricapylo/Caprate
– Hexylene Glycol
– Hydrogenated Castor Oil
– Hydroxypropyl Cellulose
– Lanolin Oil
– Lanolin Wax
– Lithium Stearate
– Magnesium Stearate
– Oleth-10
– Olive Oil
– Palmitic Acid
– Peanut Oil
– PEG 100 Distearate
– PEG 100 Stearate
– PEG 150 Distearate
– PEG 20 Stearate
– Pentarythrital Tetra Isostearate
– PG Caprylate/Caprate
– PG Dicaprylate/Caprate
– PG Dipelargonate
– PG Dipelargonate
– Polyethylene Glycol (PEG 400)
– Polyethylene Glycol 300
– Sandalwood Seed Oil
– Sesame Oil
– Simethicone
– Sorbitan Laurate
– Squalane
– Steareth 2
– Steareth 20
– Stearic acid
– Stearyl Alcohol
– Talc
– Tocopherol
– Triethanolamine
– Vitamin A Palmitate
– Zinc Oxide
ที่ทา : http://doodnees.blogspot.com/2015/08/what-ingredients-are-comedogenic.html#more