ผมเห็นหลายครั้งหลายหน วิธีการนำเสนอ
การเข้าไปหาแหล่งข่าวๆต่าง
ก็คือประเด็นเกี่ยวกับเรื่อง นักข่าวที่ไปยืนบนบันไดที่เพิ่งจะเป็นข่าวไปนี่แหละ
จริงๆ ผมว่า มันก็ไม่ใช่ครั้งแรกนะ รวมไปถึงการนำเสนอข่าวเรื่องอื่นๆด้วย
ตัวอย่างงานศพ พอล วอล์คเกอร์เนี่ย นักข่าวจะอยู่ค่อนข้างไกลเลยทีเดียว เพื่อไม่ให้รบกวนพิธีศพกับครอบครัวเค้า
แล้วใช้เลนส์ เทเลเอา เพื่อให้ได้ภาพ ซึ่งภาพที่เป็นครอบครัวเค้าอยู่ในพิธี ก็เพียงพอต่อการนำเสนอข่าวแล้ว
ส่วนคนไทย เห็นหลายพิธี ยืนแทบจะไปแทะตีนศพอยู่แล้ว
บางทีมีสั่งให้หอม ให้กอดอีกด้วย เพื่อแค่ให้ตัวเองจะได้ภาพเด็ด โดยไม่สนความรู้สึกของคนที่เสียใจเลย
ภาพข่าวใน นสพ.อีก
ข่าวครั้งนึง นานแล้วที่ประเทศ อังกฤษที่มีเด็กแฟนบอลของ แมนยู 2 คน โดนฆ่าข่มขืน
ในตอนที่เจอศพ นสพ. แล้วก็นิตยสารต่างๆ ไม่นำเสนอภาพของผู้เสียชีวิตเลย แม้แต่แค่เป็นรูปผู้เสียชีวิต แล้วเอามาเบลอๆ ก็ไม่มี
แต่เค้าใช้วิธีการ ถ่ายภาพสีหน้าคนที่เข้าไปเห็น ภาพ จนท.ที่เข้าไปทำงาน
แล้วแสดงความรู้สึกทางสีหน้าว่า มันโหดร้ายแค่ไหนกับภาพที่คนเหล่านั้นได้เห็น
อีกตัวอย่างก็ ตึกเวิร์ดเทรด คุณลองไปหาได้เลยว่า คุณจะเจอภาพผู้เสียชีวิตที่ จนท.นำมาจากใต้ซากซักกี่ภาพ
แทบไม่มี หรืออาจจะไม่มีเลยด้วยซ้ำ
แค่รูปที่ คนกระโดดลงมา แล้วมี นักข่าวเอามาลงยังโดนประนามเลยว่า ไม่ให้เกียรติผู้เสียชีวิต
แต่สื่อไทย เล่นเอารูปผู้เสียชีวิตมาลงกันโต้งๆเลย ต่อให้เบลอแล้ว ก็ไม่สมควรทำ
แต่บางที ในเวปนี่ ไม่เซ็นเซอร์เลย
ไม่นึกถึงว่า ญาติผู้เสียชีวิตจะคิดกันยังไงบ้างเลย
อีกกรณีนึง ตอนสึนามิ จำได้เลยว่า คุณ ภัทรา ที่โดนสึนามิที่ หมู่บ้านมอร์แกน
คือคนเจ็บกำลังจะตาย นอนอยู่ พูดจะไม่ไหวแล้วมั้ง
จำไม่ได้ว่า ข่าวช่องไหนสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
ไอ้คนสัมภาษณ์นี่ก็แบบว่า ถามเอา ๆ เหมือนเค้าสบายดี ไม่ได้เป็นอะไร
พอเค้าตอบช้าหน่อย มีถามซ้ำด้วย เอ่อได้ยินผมมั้ยครับ สึด......
ยังไม่พอ ยังมีคนเข้าไปสัมภาษณ์ข้างใน รพ.ด้วย
ผมเห็นสีหน้าคุณ ภัทรา ตอนนั้น คือยังสงสารแทนเลยว่า ไอ้นี่นี่มันไม่เห็นหรอว่า เค้าแทบจะพูดไม่ไหวอยู่แล้ว
มันก็ซักเอา ถามเอา เค้าก็โอยๆ พยายามกลั้นใจตอบไอ้นักข่าว
แทนที่จะมองดูแล้วใช้ วิจารณญาณเอาว่า เออ ซัก 1-2 คำถามพอมั้ง
ไอ้นี่เล่นถามหยั่งกะจะเปิดสกู๊ปซัก 3 หน้ากระดาษ
ส่วนตัวผมว่า สื่อมวลชนของไทยนี่ น่าจะไร้กาละเทศะมากที่สุดในโลกแล้ว
มั้งนะ
สื่อมวลชนไทยนี่ ถือว่า ไม่มีกาละเทศะที่สุดในโลกเลยรึเปล่า
การเข้าไปหาแหล่งข่าวๆต่าง
ก็คือประเด็นเกี่ยวกับเรื่อง นักข่าวที่ไปยืนบนบันไดที่เพิ่งจะเป็นข่าวไปนี่แหละ
จริงๆ ผมว่า มันก็ไม่ใช่ครั้งแรกนะ รวมไปถึงการนำเสนอข่าวเรื่องอื่นๆด้วย
ตัวอย่างงานศพ พอล วอล์คเกอร์เนี่ย นักข่าวจะอยู่ค่อนข้างไกลเลยทีเดียว เพื่อไม่ให้รบกวนพิธีศพกับครอบครัวเค้า
แล้วใช้เลนส์ เทเลเอา เพื่อให้ได้ภาพ ซึ่งภาพที่เป็นครอบครัวเค้าอยู่ในพิธี ก็เพียงพอต่อการนำเสนอข่าวแล้ว
ส่วนคนไทย เห็นหลายพิธี ยืนแทบจะไปแทะตีนศพอยู่แล้ว
บางทีมีสั่งให้หอม ให้กอดอีกด้วย เพื่อแค่ให้ตัวเองจะได้ภาพเด็ด โดยไม่สนความรู้สึกของคนที่เสียใจเลย
ภาพข่าวใน นสพ.อีก
ข่าวครั้งนึง นานแล้วที่ประเทศ อังกฤษที่มีเด็กแฟนบอลของ แมนยู 2 คน โดนฆ่าข่มขืน
ในตอนที่เจอศพ นสพ. แล้วก็นิตยสารต่างๆ ไม่นำเสนอภาพของผู้เสียชีวิตเลย แม้แต่แค่เป็นรูปผู้เสียชีวิต แล้วเอามาเบลอๆ ก็ไม่มี
แต่เค้าใช้วิธีการ ถ่ายภาพสีหน้าคนที่เข้าไปเห็น ภาพ จนท.ที่เข้าไปทำงาน
แล้วแสดงความรู้สึกทางสีหน้าว่า มันโหดร้ายแค่ไหนกับภาพที่คนเหล่านั้นได้เห็น
อีกตัวอย่างก็ ตึกเวิร์ดเทรด คุณลองไปหาได้เลยว่า คุณจะเจอภาพผู้เสียชีวิตที่ จนท.นำมาจากใต้ซากซักกี่ภาพ
แทบไม่มี หรืออาจจะไม่มีเลยด้วยซ้ำ
แค่รูปที่ คนกระโดดลงมา แล้วมี นักข่าวเอามาลงยังโดนประนามเลยว่า ไม่ให้เกียรติผู้เสียชีวิต
แต่สื่อไทย เล่นเอารูปผู้เสียชีวิตมาลงกันโต้งๆเลย ต่อให้เบลอแล้ว ก็ไม่สมควรทำ
แต่บางที ในเวปนี่ ไม่เซ็นเซอร์เลย
ไม่นึกถึงว่า ญาติผู้เสียชีวิตจะคิดกันยังไงบ้างเลย
อีกกรณีนึง ตอนสึนามิ จำได้เลยว่า คุณ ภัทรา ที่โดนสึนามิที่ หมู่บ้านมอร์แกน
คือคนเจ็บกำลังจะตาย นอนอยู่ พูดจะไม่ไหวแล้วมั้ง
จำไม่ได้ว่า ข่าวช่องไหนสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
ไอ้คนสัมภาษณ์นี่ก็แบบว่า ถามเอา ๆ เหมือนเค้าสบายดี ไม่ได้เป็นอะไร
พอเค้าตอบช้าหน่อย มีถามซ้ำด้วย เอ่อได้ยินผมมั้ยครับ สึด......
ยังไม่พอ ยังมีคนเข้าไปสัมภาษณ์ข้างใน รพ.ด้วย
ผมเห็นสีหน้าคุณ ภัทรา ตอนนั้น คือยังสงสารแทนเลยว่า ไอ้นี่นี่มันไม่เห็นหรอว่า เค้าแทบจะพูดไม่ไหวอยู่แล้ว
มันก็ซักเอา ถามเอา เค้าก็โอยๆ พยายามกลั้นใจตอบไอ้นักข่าว
แทนที่จะมองดูแล้วใช้ วิจารณญาณเอาว่า เออ ซัก 1-2 คำถามพอมั้ง
ไอ้นี่เล่นถามหยั่งกะจะเปิดสกู๊ปซัก 3 หน้ากระดาษ
ส่วนตัวผมว่า สื่อมวลชนของไทยนี่ น่าจะไร้กาละเทศะมากที่สุดในโลกแล้ว
มั้งนะ