คำถาม: มีพระเยซูปรากฏอยู่จริง ๆ หรือ? มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับพระเยซูบ้างหรือไม่?
คำตอบ: โดยปกติ เมื่อมีคำถามนี้เกิดขึ้น ผู้ถามกำลังเลือกถามคำถาม “นอกเรื่องในพระคัมภีร์” เราไม่คิดว่า พระคัมภีร์ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหลักฐานของการทรงพระชนม์อยู่ของพระเยซู พระคัมภีร์ฉบับพันธสัญญาใหม่มีแหล่งอ้างอิงถึงเรื่องพระเยซูอยู่ถึงหลายร้อยแหล่งด้วยกัน มีผู้บันทึกวันที่ของข่าวประเสริฐในปีคริสตศักราชที่ 2 หรือเกินกว่าหนึ่งร้อยปีหลังจากพระเยซูทรงสิ้นพระชนม์ ถึงแม้จะมีเรื่องนี้เกิดขึ้นจริง (ซึ่งเราได้โต้แย้งอย่างรุนแรง) ตามหลักฐานทางโบราณกาล การบันทึกที่มีระยะเวลาน้อยกว่า 200 ปี หลังจากเหตุการณ์นั้น ๆ เกิดขึ้น ถือว่าเป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือได้ นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มใหญ่ (ทั้งที่เป็นคริสเตียน และที่ไม่ใช่คริสเตียน) ยอมรับว่าจดหมายที่เปาโลเขียนขึ้นนั้น (อย่างน้อยบางฉบับในจำนวนจดหมายทั้งหมด) แท้ที่จริงแล้วถูกเขียนขึ้นโดยเปาโลในช่วงกลางคริสตศักราชที่หนึ่ง ซึ่งเป็นการบันทึกที่เกิดขึ้นน้อยกว่า 40 ปีหลังจากที่พระเยซูคริสต์สิ้นพระชนม์ ซึ่งตามหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรทางโบราณกาล ถือว่าเป็นหลักฐานที่หนักแน่นเป็นพิเศษที่แสดงถึงการปรากฏอยู่จริงของบุคคลหนึ่งที่ชื่อ “เยซู” ในประเทศอิสราเอลในช่วงต้นของคริสตศักราชแรก
และยังเป็นสิ่งสำคัญเช่นกันที่จะระลึกว่าในปีคริสตศักราชที่ 70 โรมันได้บุกรุกและทำลายกรุงเยรูซาเล็ม และเกือบทั้งหมดของประเทศอิสราเอล รวมทั้งได้เข่นฆ่าผู้คนในประเทศนั้นด้วย เมืองทั้งเมืองถูกเผาอย่างราบคาบ! ดังนั้น เราจึงไม่ต้องแปลกใจเลยที่หลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการดำรงอยู่ของพระเยซูจะถูกทำลายไปด้วย ประจักษ์พยานหลายคนที่เห็นพระเยซูก็คงถูกฆ่าไปเช่นกัน ข้อเท็จจริงเหล่านี้ทำให้เหลือพยานที่ได้เห็นพระเยซูและยังรอดชีวิตอยู่ในขณะนั้นเหลือเพียงไม่กี่คน
เมื่อพิจารณาข้อเท็จจริงที่ว่าพันธกิจของพระเยซูนั้นถูกจำกัดขอบเขตให้อยู่เพียงแค่ในบริเวณที่ห่างไกลชุมชน ซึ่งเป็นเพียงมุมเล็ก ๆ ของอาณาจักรโรมันเท่านั้น เรายังคงได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับพระเยซูอย่างมากมายจากแหล่งข้อมูลประวัติศาสตร์อย่างไม่รู้จบ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับพระเยซูได้รวมถึงข้อมูลดังต่อไปนี้
ในศตวรรษแรกของโรมัน มีคนชื่อ ทาซิตัส c. AD 56 – after 117 ซึ่งถือว่าเป็นนักประวัติศาสตร์คนหนึ่งที่บันทึกเรื่องราวได้ถูกต้องแม่นยำมากคนหนึ่งในโลกยุคนั้น ได้กล่าวถึงคนชื่อ “คริสเตียน” ที่มีผู้นับถืออย่างมากมาย ผู้ซึ่งถูกทรมานในช่วงการปกครองของปิลาตในรัชสมัยของไทเบริอุส ซึ่งราชเลขาธิการของจักรพรรดิฮาเดรียน ได้เขียนว่า มีชายชื่อ เครสตัส (หรือคริสต์) มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่หนึ่ง (บันทึกลำดับเหตุการณ์ที่ 15.44)
The Annals passage (15.44), which has been subjected to much scholarly analysis, follows a description of the six-day Great Fire of Rome that burned much of Rome in July 64 AD.[3]
The key part of the passage reads as follows (translation from Latin by A. J. Church and W. J. Brodribb, 1876):
"Consequently, to get rid of the report, Nero fastened the guilt and inflicted the most exquisite tortures on a class hated for their abominations, called Christians by the populace. Christus, from whom the name had its origin, suffered the extreme penalty during the reign of Tiberius at the hands of one of our procurators, Pontius Pilatus, and a most mischievous superstition, thus checked for the moment, again broke out not only in Judæa, the first source of the evil, but even in Rome, where all things hideous and shameful from every part of the world find their centre and become popular. Accordingly, an arrest was first made of all who pleaded guilty; then, upon their information, an immense multitude was convicted, not so much of the crime of firing the city, as of hatred against mankind".
(In Latin:[2] ergo abolendo rumori Nero subdidit reos et quaesitissimis poenis adfecit, quos per flagitia invisos vulgus Chrestianos appellabat. auctor nominis eius Christus Tibero imperitante per procuratorem Pontium Pilatum supplicio adfectus erat; repressaque in praesens exitiablilis superstitio rursum erumpebat, non modo per Iudaeam, originem eius mali, sed per urbem etiam, quo cuncta undique atrocia aut pudenda confluunt celebranturque. igitur primum correpti qui fatebantur, deinde indicio eorum multitudo ingens haud proinde in crimine incendii quam odio humani generis convicti sunt.)
A copy of the second Medicean manuscript of Annals, Book 15, chapter 44, the page with the reference to Christians
อ่านเพิ่มเติมได้ที่
https://en.wikipedia.org/wiki/Tacitus_on_Christ
เรื่องราวในไบเบิล ถูกบิดเบือนตามคำกล่าวหาของมุสลิมบางคนจริงหรือ?
คำตอบ: โดยปกติ เมื่อมีคำถามนี้เกิดขึ้น ผู้ถามกำลังเลือกถามคำถาม “นอกเรื่องในพระคัมภีร์” เราไม่คิดว่า พระคัมภีร์ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหลักฐานของการทรงพระชนม์อยู่ของพระเยซู พระคัมภีร์ฉบับพันธสัญญาใหม่มีแหล่งอ้างอิงถึงเรื่องพระเยซูอยู่ถึงหลายร้อยแหล่งด้วยกัน มีผู้บันทึกวันที่ของข่าวประเสริฐในปีคริสตศักราชที่ 2 หรือเกินกว่าหนึ่งร้อยปีหลังจากพระเยซูทรงสิ้นพระชนม์ ถึงแม้จะมีเรื่องนี้เกิดขึ้นจริง (ซึ่งเราได้โต้แย้งอย่างรุนแรง) ตามหลักฐานทางโบราณกาล การบันทึกที่มีระยะเวลาน้อยกว่า 200 ปี หลังจากเหตุการณ์นั้น ๆ เกิดขึ้น ถือว่าเป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือได้ นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มใหญ่ (ทั้งที่เป็นคริสเตียน และที่ไม่ใช่คริสเตียน) ยอมรับว่าจดหมายที่เปาโลเขียนขึ้นนั้น (อย่างน้อยบางฉบับในจำนวนจดหมายทั้งหมด) แท้ที่จริงแล้วถูกเขียนขึ้นโดยเปาโลในช่วงกลางคริสตศักราชที่หนึ่ง ซึ่งเป็นการบันทึกที่เกิดขึ้นน้อยกว่า 40 ปีหลังจากที่พระเยซูคริสต์สิ้นพระชนม์ ซึ่งตามหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรทางโบราณกาล ถือว่าเป็นหลักฐานที่หนักแน่นเป็นพิเศษที่แสดงถึงการปรากฏอยู่จริงของบุคคลหนึ่งที่ชื่อ “เยซู” ในประเทศอิสราเอลในช่วงต้นของคริสตศักราชแรก
และยังเป็นสิ่งสำคัญเช่นกันที่จะระลึกว่าในปีคริสตศักราชที่ 70 โรมันได้บุกรุกและทำลายกรุงเยรูซาเล็ม และเกือบทั้งหมดของประเทศอิสราเอล รวมทั้งได้เข่นฆ่าผู้คนในประเทศนั้นด้วย เมืองทั้งเมืองถูกเผาอย่างราบคาบ! ดังนั้น เราจึงไม่ต้องแปลกใจเลยที่หลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการดำรงอยู่ของพระเยซูจะถูกทำลายไปด้วย ประจักษ์พยานหลายคนที่เห็นพระเยซูก็คงถูกฆ่าไปเช่นกัน ข้อเท็จจริงเหล่านี้ทำให้เหลือพยานที่ได้เห็นพระเยซูและยังรอดชีวิตอยู่ในขณะนั้นเหลือเพียงไม่กี่คน
เมื่อพิจารณาข้อเท็จจริงที่ว่าพันธกิจของพระเยซูนั้นถูกจำกัดขอบเขตให้อยู่เพียงแค่ในบริเวณที่ห่างไกลชุมชน ซึ่งเป็นเพียงมุมเล็ก ๆ ของอาณาจักรโรมันเท่านั้น เรายังคงได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับพระเยซูอย่างมากมายจากแหล่งข้อมูลประวัติศาสตร์อย่างไม่รู้จบ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับพระเยซูได้รวมถึงข้อมูลดังต่อไปนี้
ในศตวรรษแรกของโรมัน มีคนชื่อ ทาซิตัส c. AD 56 – after 117 ซึ่งถือว่าเป็นนักประวัติศาสตร์คนหนึ่งที่บันทึกเรื่องราวได้ถูกต้องแม่นยำมากคนหนึ่งในโลกยุคนั้น ได้กล่าวถึงคนชื่อ “คริสเตียน” ที่มีผู้นับถืออย่างมากมาย ผู้ซึ่งถูกทรมานในช่วงการปกครองของปิลาตในรัชสมัยของไทเบริอุส ซึ่งราชเลขาธิการของจักรพรรดิฮาเดรียน ได้เขียนว่า มีชายชื่อ เครสตัส (หรือคริสต์) มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่หนึ่ง (บันทึกลำดับเหตุการณ์ที่ 15.44)
The Annals passage (15.44), which has been subjected to much scholarly analysis, follows a description of the six-day Great Fire of Rome that burned much of Rome in July 64 AD.[3]
The key part of the passage reads as follows (translation from Latin by A. J. Church and W. J. Brodribb, 1876):
"Consequently, to get rid of the report, Nero fastened the guilt and inflicted the most exquisite tortures on a class hated for their abominations, called Christians by the populace. Christus, from whom the name had its origin, suffered the extreme penalty during the reign of Tiberius at the hands of one of our procurators, Pontius Pilatus, and a most mischievous superstition, thus checked for the moment, again broke out not only in Judæa, the first source of the evil, but even in Rome, where all things hideous and shameful from every part of the world find their centre and become popular. Accordingly, an arrest was first made of all who pleaded guilty; then, upon their information, an immense multitude was convicted, not so much of the crime of firing the city, as of hatred against mankind".
(In Latin:[2] ergo abolendo rumori Nero subdidit reos et quaesitissimis poenis adfecit, quos per flagitia invisos vulgus Chrestianos appellabat. auctor nominis eius Christus Tibero imperitante per procuratorem Pontium Pilatum supplicio adfectus erat; repressaque in praesens exitiablilis superstitio rursum erumpebat, non modo per Iudaeam, originem eius mali, sed per urbem etiam, quo cuncta undique atrocia aut pudenda confluunt celebranturque. igitur primum correpti qui fatebantur, deinde indicio eorum multitudo ingens haud proinde in crimine incendii quam odio humani generis convicti sunt.)
A copy of the second Medicean manuscript of Annals, Book 15, chapter 44, the page with the reference to Christians
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://en.wikipedia.org/wiki/Tacitus_on_Christ