ขอคำปรึกษาของพี่ๆคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่อยค่ะ

ตอนนี้หนูกำลังเรียนอยู่ชั้น ม.6 และเพิ่งว่าตัวเองชอบพวกไอที คอมพิวเตอร์ แต่ติดตรงที่ว่า ยังไม่รู้แน่ชัดว่าถนัดไปทางไหน สาขามันมีเยอะแล้วความแตกต่างมันก้อเยอะ ลองหาข้อมูลดูแล้วแต่ก้อยังไม่หายสงสัย

เลยอยากจะขอพี่ๆคณะ IT ลาดกระบัง หรือ มหา'ลัยอื่นๆ ช่วยให้คำตอบเกี่ยวกับสาขาที่พี่ๆเรียนหน่อยค่ะว่า เรียนอะไรบ้าง เป็นยังไง และต้องเตรียมตัวอย่างไร

อันนี้ต้องขอร้องเลยจริงๆค่ะ เพราะว่ามันใกล้จะสอบแล้ว หนูก้อเพิ่งพลาดจากค่ายของลาดกระบังไปเสียดายมากเลย TT

ถ้าได้ ID Line ของพี่ๆ จะดีมากเลยค่ะ

ขอบคุณมากๆค่ะ /// อ้อ! หนูชื่อกิ่งนะคะ ^^

พาพันขอบคุณ พาพันชอบ นานาขอบคุณ
แก้ไขข้อความเมื่อ
คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
แต่ละ  คณะ  สาขา  ภาควิชา   เอก  เน้นคนละด้าน

น้อง  ต้องหาตัวเองให้พบ   ชอบอะไร   ไม่ชอบ  ถนัดอะไร  ไม่ถนัดอะไร  บุคลิกภาพ  เป็น  แบบไหน  เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไร  แล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียนและการทำงาน

บางคนคิดว่า   ชอบ  ถนัด  พอมาเรียนจริง  ๆ  เรียน  ไม่ได้   ไม่ไหว  ทุกปี  ทุกมหาวิทยาลัย  มีย้าย  คณะ  สาขา  ภาควิชา   เอก

ภาษา   ใช้ในการเรียนต่อ   และ   การทำงาน

ถ้า   ชอบ  ถนัด  เขียนโปรแกรม  สาขา  ภาควิชา   เอก  คอมพิวเตอร์
ถ้า   ชอบ  ถนัด  ออกแบบ  พัฒนาเกม  สาขา  ภาควิชา   เอก  เกม  สาขา  ภาควิชา   เอก  เกม  ก็มีเรียน  เขียนโปรแกรม

ไม่ว่า  จะ  เขียนโปรแกรม  เกม  ต้อง  มี  การออกแบบ Design User Interface:UI

เขียนโปรแกรม  ต้องเก่ง  คณิตศาสตร์  ภาษาE อังกฤษ & หัวLogic ด้วยถึงจะดี
คอมพิวเตอร์  อ่านอย่างเดียวไม่ได้  ต้องปฏิบัติด้วย  
เขียนโปรแกรม  อ่านให้เข้าใจ  ปิดหนังสือ เว็บไซต์ Website ลองตั้งโจทย์ ขึ้น มา เขียน ตามความเข้าใจของ เรา อย่า เขียน ตามหนังสือ เว็บไซต์ Website เพราะ หนังสือ เว็บไซต์ Website ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้า เขียนโปรแกรม ตาม หนังสือ เว็บไซต์ Website แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม ได้ เป็น ต้อง แก้ไขโค้ด Edit Code ได้ เป็น โดย ไม่พึ่ง คนอื่น ต้อง ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ได้ เป็น เพราะ ไม่มีใคร มานั่งชี้แนะ ได้ตลอดเวลา ก็ เหมาะ ที่จะเรียน สาขา ภาควิชา เอก คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ทุกสาขา  ภาควิชา   เอกหนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น  คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา  ภาควิชา   เอกเน้นคนละด้าน  
คอมพิวเตอร์หลักสูตรวิทยาศาสตร  จะมีหลายสาขา  ภาควิชา   เอกให้เลือกเรียนเยอะ

คอมพิวเตอร์ทุกสาขา  ภาควิชา   เอกจะเรียนเหมือนกัน  3  วิชา  Database   ฐานข้อมูล
Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย  System Analysis And Design:SA วิเคราะห์และออกแบบระบบ
จะต่างกันตรง  รหัสวิชา   ชื่อวิชา

คอมพิวเตอร์   หลักสูตรบริหารธุรกิจ   จะเน้น   User  ผู้ใช้
คอมพิวเตอร์   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม   ภาษาJava   ภาษาJava   ต้องมีพื้นฐาน   ภาษาC
คอมพิวเตอร์  หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร  จะเน้น  Hardware  และ  Software
คอมพิวเตอร์  หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร  จะเน้น  Hardware  และ  Software  การเขียนโปรแกรม  ภาษาJava  ภาษาJava  ต้องมีพื้นฐาน  
ภาษาC
สาขา   ภาควิชา  เอกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ   หลักสูตรบริหารธุรกิจ   จะเน้น   User  ผู้ใช้   จะเรียนจับฉ่าย   จะเรียนทั้ง   วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ บริหาร เรียนจบ จะได้ หลักสูตรบริหารธุรกิจ
สาขา   ภาควิชา  เอกวิทยาการคอมพิวเตอร์  วิศวกรรมซอฟต์แวร์   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม
สาขา   ภาควิชา  เอกวิทยาการคอมพิวเตอร์  วิศวกรรมซอฟต์แวร์   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม   ภาษาJava   ภาษาJava   ต้องมีพื้นฐาน   ภาษาC
สาขา   ภาควิชา  เอกวิทยาการคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ประยุตก์การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม
สาขา   ภาควิชา  เอกวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม   ภาษาJava   ภาษาJava   ต้องมีพื้นฐาน   ภาษาC  Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สาขา   ภาควิชา  เอกเทคโนโลยีสารสนเทศ  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม
สาขา   ภาควิชา  เอกเทคโนโลยีสารสนเทศ  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร   หลักสูตรวิทยาศาสตร   จะเน้น   การเขียนโปรแกรม   ภาษาJava   ภาษาJava   ต้องมีพื้นฐาน   ภาษาC   Network Data Communication & Network การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย   จะเรียนจับฉ่าย   จะได้ทั้ง   วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ บริหาร เรียนจบ จะได้ หลักสูตรวิทยาศาสตร
สาขา  ภาควิชา   เอกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์  หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร  จะเน้น  Hardware  และ  Software
สาขา  ภาควิชา   เอกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์  หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร  จะเน้น  Hardware  และ  Software  การเขียนโปรแกรม  ภาษาJava  ภาษาJava  ต้องมีพื้นฐาน  ภาษาC

คอมพิวเตอร์  แต่ละ  มหาวิทยาลัย  จะอยู่ใน  คณะ  ที่แตกต่างกันไป
คอมพิวเตอร์  แต่ละ  มหาวิทยาลัย  จะใช้ชื่อ  สาขา  ภาควิชา   เอก  ที่แตกต่างกันไป

เกม  แต่ละ  มหาวิทยาลัย  จะอยู่ใน  คณะ  ที่แตกต่างกันไป
เกม  แต่ละ  มหาวิทยาลัย  จะใช้ชื่อ  สาขา  ภาควิชา   เอก  ที่แตกต่างกันไป

เจาะลึก "วิทยาการคอมพิวเตอร์" http://www.youtube.com/watch?v=Z9SdHDdJcUU

เจาะลึกวิศวะคอมพิวเตอร์ http://www.youtube.com/watch?v=3-Jf7SUahzo
อยากเรียนวิศวะคอมฯ ต้องดู ! http://www.youtube.com/watch?v=27UyuFFOP10

ถามวิศวะ : วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=PEpzr0fKyJs

วิศวกรรมศาสตร์   ทุกสาขา   ภาควิชา   เอก   ต้องได้เรียน   ฟิสิกส์   วิศวกรรมศาสตร์   ฟิสิกส์   คำนวณ   คณิตศาสตร์   ต้องได้

บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
.ชอบคิดและเรียนรู้ในการแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  ฯลฯ

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกี่ยวกับ   การสร้างโปรแกรมบน Windows Platform การออกแบบระบบเครือข่าย การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล และการสร้างเว็บไซต์
โอกาสในอนาคต
    นักจัดการด้าน IT นักติดตั้งและวางระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบเพื่อตัดสินใจ ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งส่วนราชการ และเอกชน
เพื่อนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในหน่วยงาน  ฯลฯ

อาชีพ   Web design   การจัดการข้อมูล(Database Management)   เขียนโปรแกรมบนมือถือ   programmer   วิเคราะห์และออกแบบระบบ(System Analysis)  ฯลฯ

เรียนแล้วทำงานอะไร   ประกอบอาชีพ   การออกแบบระบบเครือข่าย โปรแกรมเมอร์ หรือ ผู้ดูแลระบบในด้านต่าง ๆ ผู้สร้าง และ ดูแลเว็บไซต์  
นักเทคโนโลยีสารสนเทศ   นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ   นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศ  
นักพัฒนาโปรแ​กรมประยุกต์และเว็บไซต์   ผู้ดูแลระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย   ​นักวิชาชีพในสถานประกอบการที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ​  ฯลฯ

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเศและการสื่อสารได้ร่างขึ้นโดยอาศัยเกณฑ์ที่ตั้งโดยสมาคม ACM (Association of Computing Machinery) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกาจัดทำขึ้นและเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก การศึกษาเน้นการจัดเตรียมบัณฑิตให้รองรับงานเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนของธุรกิจ ภาครัฐ ความต้องการในวงการแพทย์ ความต้องการในวงการศึกษา และความต้องการในธุรกิจอื่น ๆ ที่ต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในและต่างประเทศ
อาชีพ
- นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศ
- นักพัฒนาโปรแกรมใช้ภาษา Java
- ผู้ดูแลระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย
- ผู้จัดการโครงการสารสนเทศ
- นักพัฒนาเว็บไซต์  ฯลฯ
มุ่งเน้นการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป   เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการดูแลบริหารจัดการระบบเครือข่าย   ระบบฐานข้อมูล   ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์   การป้องกันภัยของระบบรวมทั้งการดูแลจัดการข้อมูลสารสนเทศในองค์กรของรัฐและเอกชน   นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางด้านข้อมูลสารสนเทศด้วย

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาการนี้  เป็นการศึกษาการใช้สารสนเทศในธุรกิจอุตสาหกรรมและสังคม  สาขาวิชานี้เปิดกว้างสำหรับทุกคนที่สนใจการใช้สารสนเทศ  ดังนั้นนักศึกษาจะเรียนวิชาพื้น
ฐานด้านธุรกิจและบริหาร  และวิทยาการคอมพิวเตอร์จุดเด่นของหลักสูตรอยู่ที่นักศึกษาสามารถเลือกเน้นความสามารถที่เป็น  "ทักษะ"ที่เป็นจริงได้ในด้าน
.  Business Process and MIS
.  Programming Skill ใช้ภาษา  UML และ  ASP.NET
.  Web Design(ใช้  Dream Weaver และ  Flash ได้)
. Business System Analysis
.  e-Commerce
.  e-learning
. Microsoft office
. Multimedia in Business(ใช้  Flash และ  Photoshop ได้)
นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  จะมีทางเลือกในสายอาชีพในองค์กรต่าง  ๆ  เช่น  ธนาคาร รัฐวิสาหกิจ  บริษัทตลาดหลักทรัพย์  บริษัทระดับ  SME ฯลฯ  โดยสามารถ
ทำงานในตำแหน่งเลขานุการ  จนถึงโปรแกรมเมอร์  หรือเจ้าหน้าที่  End Use จนถึงเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ระบบงาน  อาชีพหลักที่เป็นได้  มีดังนี้
.  เจ้าหน้าที่ฝ่าย End Use ในส่วนงาน  เช่น  ส่วนงานสินเชื่อของธนาคาร  ที่มีระบบซอฟต์แวร์สินเชื่อเบื้องต้น
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานธุรกิจ
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุนด้านซอฟต์แวร์  (Support)
.  เจ้าหน้าที่ฝ่าย e-learning
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารสำนักงาน
.  เลขานุการกรรมการผู้จัดการใหญ่
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายระบบงานสำนักงาน
.  เจ้าหน้าที่พัฒนาซอฟต์แวร์
.  เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชีคอมพิวเตอร์  หรือระบบบริหารงานบุคคล
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายโฆษณา
.  เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารระบบ
.  และอื่น  ๆ  ฯลฯ
ศึกษา   เรียนรู้ระบบสารสนเทศ   และการประยุกต์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับงานธุรกิจและการจัดการด้านสารสนเทศ   เช่น   การวิเคราะห์ออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   การบริหารจัดการฐานข้อมูลในเชิงธุรกิจ   การจัดการด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์   การออกแบบและพัฒนาเว็บ   รวมทั้งการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้งานด้านต่าง   ๆ   ที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ

โอกาสในอนาคต
ประกอบธุรกิจด้าน IT โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลซ่อมบำรุง และลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่งานคอมพิวเตอร์ทั้งส่วนราชการและเอกชน  ฯลฯ

สาขา   ภาควิชา  เอกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ   ไปได้   หลากหลายอาชีพ   ถ้าไม่ทำงาน ด้าน บริหาร ก็ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ก็ทำงาน ด้าน บริหาร

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์  เน้นที่ความเข้าใจถึงศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์  โดยมีพื้นฐานอย่างดีในด้าน  Algorithm, Data Structure และ  Discrete
Mathematics นักศึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างสูงในวิทยาการแบบ  Object โดยใช้ภาษา  Java และเทคโนโลยี .Netสามารถพัฒนาระบบ  Database ได้  สามารถเขียน
โปรแกรม  Web based ได้  สามารถออกแบบโดยใช้ภาษา  UML ได้  มีความเข้าใจในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านSecurity, Web Service และ  Computer Architecture
ทักษะที่นักศึกษาต้องมี  คือ
.  ออกแบบ Object-Oriented Software โดยใช้ภาษา  UML
.  สามารถใช้  CASE Tool ได้
.  สามารถเขียนภาษา  Java ในระดับ  J2EE ได้
.  สามารถใช้เทคโนโลยี.Net ในการสร้าง  Web Service ได้
.  สามารถออกแบบ  Database Application ที่เป็น  Web based ได้  โดยใช้  Oracle database หรือ  Microsoft SQL Server ได้
อาชีพที่เปิดกว้างสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะทำงานที่น่าท้าทายยิ่งขึ้น สำหรับผู้ที่สำเร็จสาขานี้จะ สามารถทำงานเป็น
.  Software Developer
.  Programmer
.  Software Test Engineer
.  Network Engineer
.  Programmer
.  System Administrator  ฯลฯ

สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาซอฟต์แวร์  เป็นกิจกรรมที่วับซ้อนที่สุดของมนุษยชาติ  เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์  ปัจจุบันมีวิทยาการที่เกิดขึ้นใหม่  ๆ  ที่เริ่มทำให้การพัฒนาซอฟต์แวร์  เกิดตามหลัก
"วิศวกรรมศาสตร์"  ซึ่งสามารถลดโอกาสล้มเหลวได้Oriented Technology, ภาษา  UML, การจัดทำ  Software Quality Assurance, กระบวนการบริหารโครงการ,  เรื่อง
CMMเศร้าCapability Maturity Model)
นักศึกษาจะได้ทักษะดังนี้
.  สามารถออกแบบซอฟต์แวร์ที่มีโครงสร้างดี  โดยใช้ภาษา  UML
.  ส
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่