มันใช่หรือครับจ้างจดมิเตอร์แบบนี้ จากผู้ใช้ไฟ18ล้านราย
ตีง่าย 590/18 =32.7บาท /มิเตอร์
อย่าวนี้ outsource ที่การไฟฟ้าก็เสือนอนกินเลย เดือนหนึ่งรับเน็ตๆ
เต็มที่ค่าใช้ง่ายจ้าวพนักงาน จดมิเตอร์ ไม่กี่ล้านหรอก
เพราะคุณจ้างคนจดมาเป็นเงินเดือน
จำนวนตำบล 7255ตำบล ให้พนักจดมิเตอร์มี2คนต่อตำบล
ได้จำนวนคน 14510 คน ในการจดมิเตอร์
ให้เงินเดือนคนล่ะ20,000 จะให้เงิน290ล้าน / เดือน
ค่าดำเนินการ บริษัท100ล้าน / เดือน
รวมเป็นเเงิน 390ล้าน
ให้บวกลบต้นทุนไม่มีที่มาที่ไปอีก 100ล้าน/เดือน
ก็จะได้ 390+100 490ล้าน
ก็ยังเหลือเงินให้ outsource ได้กำไรอีกเป็น100ล้าน/เดือน
ผมว่าการไฟฟ้า ก็ยังไม่แฟร์อยู่ดี เอากำไรไปให้outsource แทนที่จะคืนกำไรให้ผู้ใช้ไฟ
คนจดมิเตอร์ เป็น เอาต์ซอร์ส ทั้งหมด สาเหตุเพราะ...
ผู้ว่าการ กฟภ. ยอมรับว่า คนจดมิเตอร์ จะใช้ เอาต์ซอร์ส เกือบ 100% สาเหตุที่จ้างก็เพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย ถ้าหากเราใช้พนักงานไปจดหน่วยเอง จะมีค่าใช้จ่ายจะสูงขึ้นและเป็นภาระมาก
เมื่อถามว่าแต่ละปีต้องจ่ายเอาต์ซอร์สมากน้อยแค่ไหน และการจ้างเอาต์ซอร์ส นับเป็นต้นทุนหรือไม่ เรื่องนี้ นายสมภพ ชี้แจงว่า ค่าใช้จ่ายในการ จ้างเอาต์ซอร์ส ในการจดมิเตอร์ นับเป็นต้นทุนค่าบริการของ PEA
จะมีค่าใช้จ่ายประมาณเดือนละ 590 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของรายจ่ายทั้งหมด แต่ค่าบริการรายเดือนที่เก็บได้จริงในค่าไฟฟ้ามีเพียงประมาณเดือนละ 425 ล้านบาท
"ค่าใช้จ่าย outsource เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนค่าบริการเฉพาะบ้านอยู่อาศัย คิดเป็นประมาณร้อยละ 18 ค่าใช้จ่ายอื่นในส่วนที่ PEA จดหน่วยพิมพ์บิลเก็บเงินเอง ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายพนักงาน, ค่า Hardware software ค่าเช่าวงจรดิจิตอล Lease line สำหรับการอ่านหน่วยและการประมวลผลบิล การแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า การแจ้งเตือนให้ชำระเงิน ค่าวัสดุใช้ไป เช่น ใบแจ้งค่าไฟฟ้า หนังสือเตือน ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี ค่าไปรษณีย์ เป็นต้น รายได้ทั้งหมด PEA ได้ส่งรายละเอียดค่าใช้จ่ายทุกรายการให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานตรวจสอบก่อนการกำหนดใช้เป็นค่าบริการแล้ว" นายสมภพ กล่าว
http://www.thairath.co.th/content/508767
ค่าจ้าง outsource จดมิเตอร์ไฟฟ้าเดือนล่ะ 590ล้านบาท
ตีง่าย 590/18 =32.7บาท /มิเตอร์
อย่าวนี้ outsource ที่การไฟฟ้าก็เสือนอนกินเลย เดือนหนึ่งรับเน็ตๆ
เต็มที่ค่าใช้ง่ายจ้าวพนักงาน จดมิเตอร์ ไม่กี่ล้านหรอก
เพราะคุณจ้างคนจดมาเป็นเงินเดือน
จำนวนตำบล 7255ตำบล ให้พนักจดมิเตอร์มี2คนต่อตำบล
ได้จำนวนคน 14510 คน ในการจดมิเตอร์
ให้เงินเดือนคนล่ะ20,000 จะให้เงิน290ล้าน / เดือน
ค่าดำเนินการ บริษัท100ล้าน / เดือน
รวมเป็นเเงิน 390ล้าน
ให้บวกลบต้นทุนไม่มีที่มาที่ไปอีก 100ล้าน/เดือน
ก็จะได้ 390+100 490ล้าน
ก็ยังเหลือเงินให้ outsource ได้กำไรอีกเป็น100ล้าน/เดือน
ผมว่าการไฟฟ้า ก็ยังไม่แฟร์อยู่ดี เอากำไรไปให้outsource แทนที่จะคืนกำไรให้ผู้ใช้ไฟ
คนจดมิเตอร์ เป็น เอาต์ซอร์ส ทั้งหมด สาเหตุเพราะ...
ผู้ว่าการ กฟภ. ยอมรับว่า คนจดมิเตอร์ จะใช้ เอาต์ซอร์ส เกือบ 100% สาเหตุที่จ้างก็เพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย ถ้าหากเราใช้พนักงานไปจดหน่วยเอง จะมีค่าใช้จ่ายจะสูงขึ้นและเป็นภาระมาก
เมื่อถามว่าแต่ละปีต้องจ่ายเอาต์ซอร์สมากน้อยแค่ไหน และการจ้างเอาต์ซอร์ส นับเป็นต้นทุนหรือไม่ เรื่องนี้ นายสมภพ ชี้แจงว่า ค่าใช้จ่ายในการ จ้างเอาต์ซอร์ส ในการจดมิเตอร์ นับเป็นต้นทุนค่าบริการของ PEA จะมีค่าใช้จ่ายประมาณเดือนละ 590 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของรายจ่ายทั้งหมด แต่ค่าบริการรายเดือนที่เก็บได้จริงในค่าไฟฟ้ามีเพียงประมาณเดือนละ 425 ล้านบาท
"ค่าใช้จ่าย outsource เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนค่าบริการเฉพาะบ้านอยู่อาศัย คิดเป็นประมาณร้อยละ 18 ค่าใช้จ่ายอื่นในส่วนที่ PEA จดหน่วยพิมพ์บิลเก็บเงินเอง ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายพนักงาน, ค่า Hardware software ค่าเช่าวงจรดิจิตอล Lease line สำหรับการอ่านหน่วยและการประมวลผลบิล การแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า การแจ้งเตือนให้ชำระเงิน ค่าวัสดุใช้ไป เช่น ใบแจ้งค่าไฟฟ้า หนังสือเตือน ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี ค่าไปรษณีย์ เป็นต้น รายได้ทั้งหมด PEA ได้ส่งรายละเอียดค่าใช้จ่ายทุกรายการให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานตรวจสอบก่อนการกำหนดใช้เป็นค่าบริการแล้ว" นายสมภพ กล่าว
http://www.thairath.co.th/content/508767