------------- คำถามจากระทุ้เก่า(ที๋ถูกลบ)
http://ppantip.com/topic/33845821
ความคิดเห็นที่ 14-1
นานาสงสัย
งง! ล้วนๆค่ะ
ไม่มีอย่างอื่นเจือปน
นิพพานธาตุ คืออัลไล??
สมาชิกหมายเลข 2447819
2 ชั่วโมงที่แล้ว
----------------------------- พระสูตร หนึ่ง ที่ทรงแสดงถึง คำว่า นิพพานธาตุ
คำว่า
ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ นี้
เป็นชื่อ
แห่งนิพพานธาตุ
*****************************************************************************************************************************
http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=19&A=159&Z=173
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑
สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
ภิกขุสูตรที่ ๒
ความกำจัดราคะ เป็นชื่อนิพพานธาตุ
[๓๑] สาวัตถีนิทาน. ครั้งนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว
ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่เรียกว่า ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ ดังนี้ คำว่า
ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ นี้เป็นชื่อแห่งอะไรหนอ?
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า
ดูกรภิกษุ คำว่า
ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ นี้
เป็นชื่อ
แห่งนิพพานธาตุ เพราะเหตุนั้น จึงเรียกว่าธรรมเป็นที่สิ้นอาสวะ.
ความสิ้นราคะ ชื่อว่าอมตะ
[๓๒] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว ภิกษุนั้นได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้า
แต่พระองค์ผู้เจริญ ที่เรียกว่า อมตะๆ ดังนี้ อมตะเป็นไฉน? ทางที่จะให้ถึงอมตะเป็นไฉน?
พ. ดูกรภิกษุ ความสิ้นราคะ ความสิ้นโทสะ ความสิ้นโมหะ นี้เรียกว่าอมตะ
อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ คือ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ นี้แลเรียกว่าทางที่จะให้ถึง
อมตะ.
จบ สูตรที่ ๗
*****************************************************************************************************************************
คุณลักษณะของ นิพพาน
จาก คู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๖
นิพพาน ก็เป็น อรูปธรรม คือ ธรรมที่ไม่ใช่รูป เป็นธรรมที่ไม่มีรูปเหมือน กัน และ
ก็เป็นนามธรรมเช่นเดียวกัน แต่นิพพาน ไม่เป็นนามขันธ์ เพราะธรรมที่จะขึ้นชื่อว่าขันธ์ หรือที่จัดเป็นขันธ์ จะต้องสามารถมีลักษณะได้เป็น ๑๑ กอง หรือ ๑๑ อย่าง คือ ขันธ์ เป็นได้ในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ส่วนนิพพานนั้น พ้นจากกาลทั้ง ๓ จึงไม่เป็นขันธ์
วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน
สนฺติ ลกฺขณา
มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ
สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ
๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง
เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ
สุข
เวทยิตสุข สุขอันเกิดจากเวทนา
สันติสุข สุขอันเกิดโดยพ้นจากเวทนา
เวทยิตสุข สุขอันเกิดจากเวทนานั้น เป็นสุขที่เกิดจากการเสวยอารมณ์ เป็นทุกขสัจจ
สันติสุข สุขอันเกิดโดยพ้นจากเวทนานั้น เป็นสุขที่
ไม่ได้เกิดจากการเสวยอารมณ์ เป็นนิโรธสัจจ
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ ฯ
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
สุข ( เวทนา ) จะมีได้อย่างไรในพระนิพพาน เพราะพระนิพพานไม่มีการเสวย ( อารมณ์ )
ใน สตุตันตปิฎก เล่ม ๓๓ หน้า ๒๒๕ แก้ไว้ว่า
ความที่ไม่เสวยอารมณ์นั่นแหละ เป็นความสุขที่แท้จริง เป็นสุขอย่างยิ่ง เพราะ
สุขที่เสวยอารมณ์นั้น
เป็นสุขที่ไม่เที่ยง ก็คือเป็นทุกข์นั่นเอง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
http://www.thepathofpurity.com/พระอภ-ธรรม/พระอภ-ธ-มม-ตถส-งคหะ/ปร-จเฉทท-๖/
หน้า ๑๑๘
นิพพาน
ปรมัตถธรรม มี ๔ อย่าง คือ
(มีต่อ)
@@@ ตอบ -- ความคิดเห็นที่ 14-1 ... งง! ล้วนๆค่ะ ไม่มีอย่างอื่นเจือปน นิพพานธาตุ คืออัลไล??
ความคิดเห็นที่ 14-1
นานาสงสัย
งง! ล้วนๆค่ะ
ไม่มีอย่างอื่นเจือปน
นิพพานธาตุ คืออัลไล??
สมาชิกหมายเลข 2447819
2 ชั่วโมงที่แล้ว
----------------------------- พระสูตร หนึ่ง ที่ทรงแสดงถึง คำว่า นิพพานธาตุ
คำว่า ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ นี้เป็นชื่อ
แห่งนิพพานธาตุ
*****************************************************************************************************************************
http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=19&A=159&Z=173
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑
สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
ภิกขุสูตรที่ ๒
ความกำจัดราคะ เป็นชื่อนิพพานธาตุ
[๓๑] สาวัตถีนิทาน. ครั้งนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่เรียกว่า ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ ดังนี้ คำว่า
ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ นี้เป็นชื่อแห่งอะไรหนอ?
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า
ดูกรภิกษุ คำว่า ความกำจัดราคะ ความกำจัดโทสะ ความกำจัดโมหะ นี้เป็นชื่อ
แห่งนิพพานธาตุ เพราะเหตุนั้น จึงเรียกว่าธรรมเป็นที่สิ้นอาสวะ.
ความสิ้นราคะ ชื่อว่าอมตะ
[๓๒] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว ภิกษุนั้นได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้า
แต่พระองค์ผู้เจริญ ที่เรียกว่า อมตะๆ ดังนี้ อมตะเป็นไฉน? ทางที่จะให้ถึงอมตะเป็นไฉน?
พ. ดูกรภิกษุ ความสิ้นราคะ ความสิ้นโทสะ ความสิ้นโมหะ นี้เรียกว่าอมตะ
อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ คือ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ นี้แลเรียกว่าทางที่จะให้ถึง
อมตะ.
จบ สูตรที่ ๗
*****************************************************************************************************************************
คุณลักษณะของ นิพพาน
จาก คู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๖
นิพพาน ก็เป็น อรูปธรรม คือ ธรรมที่ไม่ใช่รูป เป็นธรรมที่ไม่มีรูปเหมือน กัน และก็เป็นนามธรรมเช่นเดียวกัน แต่นิพพาน ไม่เป็นนามขันธ์ เพราะธรรมที่จะขึ้นชื่อว่าขันธ์ หรือที่จัดเป็นขันธ์ จะต้องสามารถมีลักษณะได้เป็น ๑๑ กอง หรือ ๑๑ อย่าง คือ ขันธ์ เป็นได้ในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ส่วนนิพพานนั้น พ้นจากกาลทั้ง ๓ จึงไม่เป็นขันธ์
วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน
สนฺติ ลกฺขณา มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ
สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ
๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ
สุข
เวทยิตสุข สุขอันเกิดจากเวทนา
สันติสุข สุขอันเกิดโดยพ้นจากเวทนา
เวทยิตสุข สุขอันเกิดจากเวทนานั้น เป็นสุขที่เกิดจากการเสวยอารมณ์ เป็นทุกขสัจจ
สันติสุข สุขอันเกิดโดยพ้นจากเวทนานั้น เป็นสุขที่ไม่ได้เกิดจากการเสวยอารมณ์ เป็นนิโรธสัจจ
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ ฯ นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
สุข ( เวทนา ) จะมีได้อย่างไรในพระนิพพาน เพราะพระนิพพานไม่มีการเสวย ( อารมณ์ )
ใน สตุตันตปิฎก เล่ม ๓๓ หน้า ๒๒๕ แก้ไว้ว่า ความที่ไม่เสวยอารมณ์นั่นแหละ เป็นความสุขที่แท้จริง เป็นสุขอย่างยิ่ง เพราะสุขที่เสวยอารมณ์นั้น เป็นสุขที่ไม่เที่ยง ก็คือเป็นทุกข์นั่นเอง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
http://www.thepathofpurity.com/พระอภ-ธรรม/พระอภ-ธ-มม-ตถส-งคหะ/ปร-จเฉทท-๖/
หน้า ๑๑๘
นิพพาน
ปรมัตถธรรม มี ๔ อย่าง คือ
(มีต่อ)