คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 8
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
มาตรา ๓๐ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำหรับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ซึ่งจะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(๔) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น
(๕) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ.
(๖) ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการ ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
หรือถูกสั่งพัก หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายองค์กรวิชาชีพนั้นๆ
(๗) ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีสำหรับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๘) ไม่เป็นกรรมการบริหารพครเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๙) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
(๑๐) ไม่เป็นผู้เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๑๑) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน
หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือองค์การระหว่างประเทศ
(๑๒) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกเพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๓) ไม่เป็นผู้เคยกระทำการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการหรือเข้าปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ
กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยโรค พ.ศ. 2549
โรคตามมาตรา ๓๐ (๕) คือ
(๑) โรคเรื้อนในระยะติดต่อหรือในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
(๒) วัณโรคในระยะติดต่อ
(๓) โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
(๔) โรคติดยาเสพติดให้โทษ
(๕) โรคพิษสุราเรื้อรัง
http://www.moe.go.th/webld/pdf/BB/B_45.pdf
------------------------------------------------------------------------------------------
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๓๖ ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
ก. คุณสมบัติทั่วไป
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ข. ลักษณะต้องห้าม
(๑) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๒) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.
(๓) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๔) เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีจนเป็นที่รังเกียจของสังคม
(๕) เป็นกรรมการหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๖) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๗) เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเพราะกระทำ
ความผิดทางอาญาเว้นแต่เป็นโทษหรับความผิดที่ได้ระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๘) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐ
(๙) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก หรือปลดออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๐) เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
http://www2.cgd.go.th/impor/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%9A%20%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99.pdf
กฎ ก.พ. ว่าด้วย โรค พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๒ โรคตามมาตรา ๓๖ ข. ๒ คือ
(๑) วัณโรคในระยะแพร่การะจายเชื้อ
(๒) โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
(๓) โรคติดยาเสพติดให้โทษ
(๔) โรคพิษสุราเรื้อรัง
(๕) โรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคเรื้อนที่ปรากกฏอาการเด่นชัดหรือรุนแรงและเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ตามที่ ก.พ. กำหนด
http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/uploads/law/kp17_531.pdf
------------------------------------------------------------------------------------------
ทีนี้มาดูคุณสมบัติทั่วไปของ ข้าราชการทหาร และ ข้าราชการตำรวจ ครับ
ตำรวจ
http://www.ประกาศผลสอบ.com/pdf/082557/thailandtouristpolice.PDF
ทหารอากาศ
http://www.person.rtaf.mi.th/recruit58/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%A3.pdf
จะเห็นได้ว่ากรณีข้าราชการทหาร/ตำรวจ จะมีข้อห้ามชัดเจนเรื่องรอยสักครับ
เมื่อตีความเปรียบเทียบกันระหว่างระเบียบข้าราชการฝ่ายพลเรือน (ขรก.พลเรือน, ขรก.ครู)
กับระเบียบข้าราชการทหาร, ข้าราชการตำรวจ
ข้าราชการฝ่ายพลเรือน จะไม่มีข้อห้ามชัดเจนเรื่องรอยสัก
เพราะฉะนั้นจะสักก็ได้
แต่โดยพฤติการณ์ของคนปกติสามัญที่ควรรู้ คือ กรณีจะเป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือน ก็ไม่ควรมีรอยสักนอกร่มผ้าครับ
ลองคิดดู หากครูที่มาสอนลูกคุณ สักลายมังกรเต็มแขน คุณๆจะรู้สึกอย่างไรครับ
เพราะฉะนั้นกรณีของ จขกท. ที่สักใต้ร่มผ้า ด้านล่างเอวลงมานิดหน่อยด้านข้าง กกน. สามารถปกปิดได้
จึงไม่เป็นกรณีที่จะนำมาพิจารณาตัดสิทธิในการบรรจุเป็นข้าราชการครับ
ปล.ขอภาพประกอบเพื่อความถูกต้องของการวินิจฉัยในกรณีด้วยครับ
มาตรา ๓๐ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำหรับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ซึ่งจะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(๔) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น
(๕) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ.
(๖) ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการ ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
หรือถูกสั่งพัก หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายองค์กรวิชาชีพนั้นๆ
(๗) ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีสำหรับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๘) ไม่เป็นกรรมการบริหารพครเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๙) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
(๑๐) ไม่เป็นผู้เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๑๑) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน
หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือองค์การระหว่างประเทศ
(๑๒) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกเพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๓) ไม่เป็นผู้เคยกระทำการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการหรือเข้าปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ
กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยโรค พ.ศ. 2549
โรคตามมาตรา ๓๐ (๕) คือ
(๑) โรคเรื้อนในระยะติดต่อหรือในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
(๒) วัณโรคในระยะติดต่อ
(๓) โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
(๔) โรคติดยาเสพติดให้โทษ
(๕) โรคพิษสุราเรื้อรัง
http://www.moe.go.th/webld/pdf/BB/B_45.pdf
------------------------------------------------------------------------------------------
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๓๖ ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
ก. คุณสมบัติทั่วไป
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ข. ลักษณะต้องห้าม
(๑) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๒) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.
(๓) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๔) เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีจนเป็นที่รังเกียจของสังคม
(๕) เป็นกรรมการหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๖) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๗) เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเพราะกระทำ
ความผิดทางอาญาเว้นแต่เป็นโทษหรับความผิดที่ได้ระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๘) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐ
(๙) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก หรือปลดออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๐) เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
http://www2.cgd.go.th/impor/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%9A%20%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99.pdf
กฎ ก.พ. ว่าด้วย โรค พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๒ โรคตามมาตรา ๓๖ ข. ๒ คือ
(๑) วัณโรคในระยะแพร่การะจายเชื้อ
(๒) โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
(๓) โรคติดยาเสพติดให้โทษ
(๔) โรคพิษสุราเรื้อรัง
(๕) โรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคเรื้อนที่ปรากกฏอาการเด่นชัดหรือรุนแรงและเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ตามที่ ก.พ. กำหนด
http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/uploads/law/kp17_531.pdf
------------------------------------------------------------------------------------------
ทีนี้มาดูคุณสมบัติทั่วไปของ ข้าราชการทหาร และ ข้าราชการตำรวจ ครับ
ตำรวจ
http://www.ประกาศผลสอบ.com/pdf/082557/thailandtouristpolice.PDF
ทหารอากาศ
http://www.person.rtaf.mi.th/recruit58/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%A3.pdf
จะเห็นได้ว่ากรณีข้าราชการทหาร/ตำรวจ จะมีข้อห้ามชัดเจนเรื่องรอยสักครับ
เมื่อตีความเปรียบเทียบกันระหว่างระเบียบข้าราชการฝ่ายพลเรือน (ขรก.พลเรือน, ขรก.ครู)
กับระเบียบข้าราชการทหาร, ข้าราชการตำรวจ
ข้าราชการฝ่ายพลเรือน จะไม่มีข้อห้ามชัดเจนเรื่องรอยสัก
เพราะฉะนั้นจะสักก็ได้
แต่โดยพฤติการณ์ของคนปกติสามัญที่ควรรู้ คือ กรณีจะเป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือน ก็ไม่ควรมีรอยสักนอกร่มผ้าครับ
ลองคิดดู หากครูที่มาสอนลูกคุณ สักลายมังกรเต็มแขน คุณๆจะรู้สึกอย่างไรครับ
เพราะฉะนั้นกรณีของ จขกท. ที่สักใต้ร่มผ้า ด้านล่างเอวลงมานิดหน่อยด้านข้าง กกน. สามารถปกปิดได้
จึงไม่เป็นกรณีที่จะนำมาพิจารณาตัดสิทธิในการบรรจุเป็นข้าราชการครับ
ปล.ขอภาพประกอบเพื่อความถูกต้องของการวินิจฉัยในกรณีด้วยครับ
แสดงความคิดเห็น
เป็นข้าราชการครูสักใต้ร่มผ้าข้างเอวได้ไหมคะ