คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 12
ผู้ถือธุดงควัตรมี 5 จำพวก
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
[๑๘๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้
๕ จำพวกเป็นไฉน คือ ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตรเพราะโง่เขลา เพราะหลงงมงาย ๑
มีความปรารถนาลามก ถูกความอยากครอบงำ จึงถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๑ ถืออยู่ป่า
เป็นวัตรเพราะเป็นบ้า เพราะจิตฟุ้งซ่าน ๑ ถืออยู่ป่าเป็นวัตรเพราะรู้ว่าเป็นวัตรอัน
พระพุทธเจ้าและสาวกแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายสรรเสริญ ๑ ถืออยู่ป่าเป็นวัตร
เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ
สงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถืออยู่ป่า
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความ
ปรารถนาน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้อง
การด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด
และดีกว่าภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ เปรียบเหมือนนมสดเกิดจากโค
นมส้มเกิดจากนมสด เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใส
เกิดจากเนยใส หัวเนยใสชาวโลกย่อมกล่าวว่าเป็นยอดในจำพวกโครส ๕ เหล่านั้น
ฉันใด บรรดาภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร
เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ
สงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ เป็นเลิศ ประเสริฐ
เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฉันนั้น
เหมือนกัน ฯ
จบสูตรที่ ๑
[๑๘๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ๕ จำพวก-
*นี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๒
[๑๘๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่โคนไม้เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๓
[๑๘๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าช้าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๔
[๑๘๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ในที่แจ้งเป็นวัตร ๕ จำพวก-
*นี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๕
[๑๘๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือการนั่งเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๖
[๑๘๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ในเสนาสนะตามที่ท่านจัดให้
อย่างไรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๗
[๑๘๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือการนั่งฉัน ณ อาสนะเดียวเป็น
วัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๘
[๑๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือห้ามภัตอันนำมาถวาย เมื่อภายหลัง
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๙
[๑๙๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวก
นี้ ๕ จำพวกเป็นไฉน คือ ภิกษุเป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะโง่
เขลา เพราะหลงงมงาย ๑ มีความปรารถนาลามก ถูกความอยากครอบงำ จึงเป็น
ผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๑ เป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตรเพราะเป็นบ้า
เพราะจิตฟุ้งซ่าน ๑ เป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะรู้ว่าเป็นวัตรอัน
พระพุทธเจ้าและสาวกแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายสรรเสริญ ๑ เป็นผู้ถือฉันเฉพาะ
ในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ
ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้แล ดูกรภิกษุ-
*ทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถือฉัน
เฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ
ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้
เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตร
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ เปรียบเหมือนนมสดเกิดจากโค นมส้มเกิดจากนมสด
เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใสเกิดจากเนยใส หัวเนย
ใสชาวโลกย่อมกล่าวว่าเป็นเลิศในจำพวกโครส ๕ เหล่านั้น ฉันใด ดูกรภิกษุ-
*ทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถือฉัน
เฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ
ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้
เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตร
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ
จบสูตรที่ ๑๐
จบอรัญญวรรคที่ ๔
-----------------------------------------------------
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. อารัญญกสูตร ๒. ปังสุกูลิกสูตร ๓. รุกขมูลิกสูตร
๔. โสสานิกสูตร ๕. อัพโภกาสิกสูตร ๖. เนสัชชิกสูตร ๗. ยถาสันถติก-
*สูตร ๘. เอกาสนิกสูตร ๙. ขลุปัจฉาภัตติกสูตร ๑๐. ปัตตปิณฑิกสูตร ฯ
-----------------------------------------------------
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๕๑๐๓ - ๕๑๘๓. หน้าที่ ๒๒๓ - ๒๒๖.
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=22&A=5103&Z=5183&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=181
ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรไทย ได้ที่ :-
[181-190] http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=22&A=181&Z=190
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
อรัญญวรรคที่ ๔
๑. อารัญญกสูตร
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
อรัญญวรรคที่ ๔
๑. อารัญญกสูตร
[๑๘๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้
๕ จำพวกเป็นไฉน คือ ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตรเพราะโง่เขลา เพราะหลงงมงาย ๑
มีความปรารถนาลามก ถูกความอยากครอบงำ จึงถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๑ ถืออยู่ป่า
เป็นวัตรเพราะเป็นบ้า เพราะจิตฟุ้งซ่าน ๑ ถืออยู่ป่าเป็นวัตรเพราะรู้ว่าเป็นวัตรอัน
พระพุทธเจ้าและสาวกแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายสรรเสริญ ๑ ถืออยู่ป่าเป็นวัตร
เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ
สงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถืออยู่ป่า
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความ
ปรารถนาน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้อง
การด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด
และดีกว่าภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ เปรียบเหมือนนมสดเกิดจากโค
นมส้มเกิดจากนมสด เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใส
เกิดจากเนยใส หัวเนยใสชาวโลกย่อมกล่าวว่าเป็นยอดในจำพวกโครส ๕ เหล่านั้น
ฉันใด บรรดาภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร
เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความ
สงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ เป็นเลิศ ประเสริฐ
เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฉันนั้น
เหมือนกัน ฯ
จบสูตรที่ ๑
๒. ปังสุกูลิกสูตร
[๑๘๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ๕ จำพวก-
*นี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๒
๓. รุกขมูลิกสูตร
[๑๘๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่โคนไม้เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๓
๔. โสสานิกสูตร
[๑๘๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ป่าช้าเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๔
๕. อัพโภกาสิกสูตร
[๑๘๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ในที่แจ้งเป็นวัตร ๕ จำพวก-
*นี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๕
๖. เนสัชชิกสูตร
[๑๘๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือการนั่งเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๖
๗. ยถาสันถติกสูตร
[๑๘๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถืออยู่ในเสนาสนะตามที่ท่านจัดให้
อย่างไรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๗
๘. เอกาสนิกสูตร
[๑๘๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือการนั่งฉัน ณ อาสนะเดียวเป็น
วัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๘
๙. ขลุปัจฉาภัตติกสูตร
[๑๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือห้ามภัตอันนำมาถวาย เมื่อภายหลัง
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฯลฯ
จบสูตรที่ ๙
๑๐. ปัตตปิณฑิกสูตร
[๑๙๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวก
นี้ ๕ จำพวกเป็นไฉน คือ ภิกษุเป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะโง่
เขลา เพราะหลงงมงาย ๑ มีความปรารถนาลามก ถูกความอยากครอบงำ จึงเป็น
ผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๑ เป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตรเพราะเป็นบ้า
เพราะจิตฟุ้งซ่าน ๑ เป็นผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะรู้ว่าเป็นวัตรอัน
พระพุทธเจ้าและสาวกแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายสรรเสริญ ๑ เป็นผู้ถือฉันเฉพาะ
ในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ
ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้แล ดูกรภิกษุ-
*ทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถือฉัน
เฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ
ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้
เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตร
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ เปรียบเหมือนนมสดเกิดจากโค นมส้มเกิดจากนมสด
เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใสเกิดจากเนยใส หัวเนย
ใสชาวโลกย่อมกล่าวว่าเป็นเลิศในจำพวกโครส ๕ เหล่านั้น ฉันใด ดูกรภิกษุ-
*ทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ภิกษุผู้ถือฉัน
เฉพาะในบาตรเป็นวัตร เพราะอาศัยความเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ความสันโดษ
ความขัดเกลา ความสงัด ความเป็นผู้มีความต้องการด้วยข้อปฏิบัติอันงามเช่นนี้
เป็นผู้เลิศ ประเสริฐ เป็นประธาน สูงสุด และดีกว่าภิกษุผู้ถือฉันเฉพาะในบาตร
เป็นวัตร ๕ จำพวกนี้ ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ
จบสูตรที่ ๑๐
จบอรัญญวรรคที่ ๔
-----------------------------------------------------
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. อารัญญกสูตร ๒. ปังสุกูลิกสูตร ๓. รุกขมูลิกสูตร
๔. โสสานิกสูตร ๕. อัพโภกาสิกสูตร ๖. เนสัชชิกสูตร ๗. ยถาสันถติก-
*สูตร ๘. เอกาสนิกสูตร ๙. ขลุปัจฉาภัตติกสูตร ๑๐. ปัตตปิณฑิกสูตร ฯ
-----------------------------------------------------
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๕๑๐๓ - ๕๑๘๓. หน้าที่ ๒๒๓ - ๒๒๖.
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=22&A=5103&Z=5183&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=181
ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรไทย ได้ที่ :-
[181-190] http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=22&A=181&Z=190
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
หนังสือ ธุดงค์ ทำอะไร ที่ไหน เพื่ออะไร ?(โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต)
เปิดอ่านด้านใน ปรากฏว่า เป็นหนังสือ ที่ พิมพ์เสร็จเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2558
ในเว็บ http://www.watnyanaves.net/th/home
ยังไม่ได้จัดทำ ไฟล์สำหรับดาวน์โหลด
หนังสือ มีเพียง 17 หน้า นำมาแบ่งปันให้อ่าน ตามภาพสแกนนี้ครับ
กราบขอบพระคุณ ท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต ) เป็นอย่างสูง
ท่านใด ที่สนใจหนังสือ
ขอหนังสือได้ที่
วัดญาณเวศกวัณ หลังพุทธมณฑล ต.บางระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม
วัดจากแดง หมู่ 6 ถนนเพชรหึงษ์ ตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
.
เพิ่มเติม
ท่านใดที่สนใจ หนังสือ ตามกระทู้นี้
หนังสือ - รู้จัก พระไตรปิฏก ให้ชัด ให้ตรง (ป.อ.ปยุตฺโต) - มีไว้อ่านกันหรือยัง ?
http://ppantip.com/topic/33712040
กรุณาส่งชื่อ ที่อยู่ หลังไมค์ ยินดีจัดส่งให้ฟรีครับ