จากกระทู้นี้..
http://ppantip.com/topic/33738907
ผมขอต่อความยาว..สาวความคิด..ครับ
ในกรณี ขึ้นสะพาน ลงอุโมง ที่มีป้ายห้ามรถเครื่อง ขึ้นหรือลง
มิได้ระบุไว้ใน..พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ไม่ต้องแก้ พรบ.นี้ ก็ได้)ครับ
http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%A803/%A803-20-9999-update.pdf
แต่ระบุใน..
ลักษณะ ๑๘ อํานาจของเจ้าพนักงานจราจรและพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๓๙
หน้า ๓๑-๓๒ ของ พรบ.จราจรดังกล่าว
ให้อำนาจเจ้าพนักงานจราจร จัดการจราจรในทางต่างๆที่รับผิดชอบได้
ความเห็นผม
- เจ้าพนักงานควรมองเรื่องการระบายจราจร ความเท่าเทียมของพาหนะ ในการใช้ทางต่างๆ ตามสภาพแวดล้อม และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
- ไม่จำเป็นต้องอ้างเรื่องความปลอดภัย เพราะบางแห่งกลับบอกว่ารถเครื่องขึ้นได้ บางแห่งขึ้นไม่ได้ ทั้งที่ สะพาน, อุโมง บางแห่ง มีลักษณะเหมือนกัน
- ถ้าอ้างกฎหมาย..ว่าเป็นอำนาจเจ้าพนักงานท้องที่นั้นๆ..บางแห่งกำหนด บางแห่งไม่กำหนด เรื่องขึ้นสะพานลงอุโมง
แต่เจ้าพนักงานจราจร..ดันกำหนดความเร็วพาหนะ..รถยนต์ รถกระบะ รถเครื่อง..จำกัดความเร็วเท่ากัน..ทั่วประเทศ..ย้ำทั่วประเทศมีแต่ป้ายแบบนี้..และแบบนี้
ทางปกติ..ทั่วประเทศ..ก็สร้างโดยอาศัยข้อกำหนดของกระทรวงคมนาคม..เพียงกระทรวงเดียว..ซึ่งเน้นความปลอดภัยของการใช้งานทาง ของพาหนะต่างๆ อยู่แล้ว..
สรุปที่เกิดอุบัติเหตุ..บนสะพานในอุโมง..เกิดจากสภาพทาง หรือวินัยของผู้ใช้ทางร่วมกัน
ดังนั้น..ผม..สนับสนุนให้มีการใช้ทางปกติ..อย่างเท่าเทียมกัน..(เว้นทางพิเศษ ทางด่วน..แล้วแต่จะพิจารณา)
และจำเป็นกวดขันวินัยจราจรแทน..กวดขันยังไง..เป็นเจ้าพนักงานจราจร เจ้าหน้าที่สอบใบขับขี่ เจ้าหน้าที่บ้านเมืองที่เกี่ยวข้อง..น่าจะคิดได้อยู่แล้ว..ผมรู้
ขอบคุณครับ
แก้ไขเพิ่มเติมครับ
เรื่องความเท่าเทียม..ของรถในทาง
ผมขอต่อความยาว..สาวความคิด..ครับ
ในกรณี ขึ้นสะพาน ลงอุโมง ที่มีป้ายห้ามรถเครื่อง ขึ้นหรือลง
มิได้ระบุไว้ใน..พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (ไม่ต้องแก้ พรบ.นี้ ก็ได้)ครับ
http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%A803/%A803-20-9999-update.pdf
แต่ระบุใน..
ลักษณะ ๑๘ อํานาจของเจ้าพนักงานจราจรและพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๓๙
หน้า ๓๑-๓๒ ของ พรบ.จราจรดังกล่าว
ให้อำนาจเจ้าพนักงานจราจร จัดการจราจรในทางต่างๆที่รับผิดชอบได้
ความเห็นผม
- เจ้าพนักงานควรมองเรื่องการระบายจราจร ความเท่าเทียมของพาหนะ ในการใช้ทางต่างๆ ตามสภาพแวดล้อม และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
- ไม่จำเป็นต้องอ้างเรื่องความปลอดภัย เพราะบางแห่งกลับบอกว่ารถเครื่องขึ้นได้ บางแห่งขึ้นไม่ได้ ทั้งที่ สะพาน, อุโมง บางแห่ง มีลักษณะเหมือนกัน
- ถ้าอ้างกฎหมาย..ว่าเป็นอำนาจเจ้าพนักงานท้องที่นั้นๆ..บางแห่งกำหนด บางแห่งไม่กำหนด เรื่องขึ้นสะพานลงอุโมง
แต่เจ้าพนักงานจราจร..ดันกำหนดความเร็วพาหนะ..รถยนต์ รถกระบะ รถเครื่อง..จำกัดความเร็วเท่ากัน..ทั่วประเทศ..ย้ำทั่วประเทศมีแต่ป้ายแบบนี้..และแบบนี้
ทางปกติ..ทั่วประเทศ..ก็สร้างโดยอาศัยข้อกำหนดของกระทรวงคมนาคม..เพียงกระทรวงเดียว..ซึ่งเน้นความปลอดภัยของการใช้งานทาง ของพาหนะต่างๆ อยู่แล้ว..
สรุปที่เกิดอุบัติเหตุ..บนสะพานในอุโมง..เกิดจากสภาพทาง หรือวินัยของผู้ใช้ทางร่วมกัน
ดังนั้น..ผม..สนับสนุนให้มีการใช้ทางปกติ..อย่างเท่าเทียมกัน..(เว้นทางพิเศษ ทางด่วน..แล้วแต่จะพิจารณา)
และจำเป็นกวดขันวินัยจราจรแทน..กวดขันยังไง..เป็นเจ้าพนักงานจราจร เจ้าหน้าที่สอบใบขับขี่ เจ้าหน้าที่บ้านเมืองที่เกี่ยวข้อง..น่าจะคิดได้อยู่แล้ว..ผมรู้
ขอบคุณครับ
แก้ไขเพิ่มเติมครับ